Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการ ทฤษฎี ปัจจัยที่มีผลกับการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กแรกเกิดถึงวั…
หลักการ ทฤษฎี ปัจจัยที่มีผลกับการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กแรกเกิดถึงวัยรุ่น
ความสาคัญของการเข้าใจการเจริญเติบโตและพัฒนาการชีวิตของเด็ก
เพื่อติดตามและเฝ้าระวัง
เพื่อแยกเด็กที่มีปัญหาการเจริญเติบโตและพัฒนาการล่าช้าได้
เพื่อลดปัญหาภาวะเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาสุขภาพของเด็ก
เพื่อให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาการได้อย่างเต็มศักยภาพ
เพื่อให้การเลี้ยงดูเด็กได้เหมาะสมกับความต้องการของเด็ก
การแบ่งวัย
วัยทารกแรกเกิด : แรกเกิด –28 วัน
วัยทารก : 28 วัน –1 ปี
วัยเตาะแตะ : 1 –3 ปี
วัยก่อนเรียน : 3 –6 ปี
วัยเรียน : 6 –12 ปี
วัยรุ่น : 12 –21 ปี
ทฤษฎีจิตวิทยาพัฒนาการของเด็ก
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของฟรอยด์ (Psychoanalytic Theories)
แบ่งช่วงชีวิตออกเป็น 5 ระยะ
ความต้องการหรือสัญชาตญาณทางเพศ
เป็นพัฒนาการทางจิตใจตามความต้องการทางเพศ
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของฟรอยด์ (Psychoanalytic Theories)
มี 5 ขั้นตอน
ขั้นที่ 1 ขั้นปาก (Oral stage)
ขั้นที่ 2 ขั้นทวารหนัก (Anal stage)
ขั้นที่ 3ขั้นอวัยวะเพศ (Phallic or Oedipalstage)
ขั้นที่ 4 ขั้นแฝง (Latency stage)
ขั้นที่ 5 ขั้นวัยรุ่นหรือขั้นอวัยวะเพศ (Genital stage)
ความหมายของการเจรฺิญเติบโต
หมายถึง =กระบวนการเปลี่ยนแปลง โดยการเพิ่มขนาดและรูปร่าง ปริมาณ ทาให้มีจานวนเพิ่มขึ้นหรือมีการขยาย
พัฒนาการ = การเปลี่ยนแปลงที่มีทิศทางและดาเนินไปอยู่ตลอดเวลา
หลักการเจริญเติบโตและพัฒนาการ
1.มีทิศทางเดียวกัน (Directional trends) มี 3 รูปแบบ
จากศีรษะไปสู่ส่วนปลายเท้า
จากส่วนกลางลาตัว
ไปสู่ส่วนปลายที่เป็นรยางค์
จากโครงสร้าง
ใหญ่ๆ
มีลำดับแน่นอน
เช่น จากการคลานไปคืบ คืบได้ก่อนยืน ยืนได้ก่อนเดิน
ไวต่อการกระตุ้น
มีช่วงเวลาเฉพาะสาหรับการเจริญเติบโตบางส่วน
ทักษะใหม่เด่นกว่าพัฒนาการเก่า
ฝึกฝนทักษะใหม่อย่างสมบูรณ์ ให้ความสนใจ
พัฒนาการที่ผ่านมาน้อยลง
อัตราเร็วของการเจริญเติบโตและพัฒนาการแตกต่างกัน
ในแต่ละคน
มีความแตกต่างกันในแต่ละบุคคล
พัฒนาการในแต่ละด้านสัมพันธ์กันและส่งเสริมซึ่งกันและกัน
8.การเจริญเติบโต พัฒนาการมีระยะวิกฤต
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการ
1.ปัจจัยทางพันธุกรรม
เพศ
ลักษณะรูปร่าง
หน้าตา
ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมในครรภ์ : สุขภาพมารดา ยา บุหรี่ อายุ
สิ่งแวดล้อมขณะเกิด :การคลอดลาบาก ยา การติดเชื้อ
ฮอร์โมน : ฮอร์โมนไทรอยด์ อะดรีโนคอร์ติคอย
โรคของเด็ก : เจ็บป่วยเรื้อรัง พิการแต่กาเนิด ติดเชื้อ
การเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็ก
ด้านร่างกาย
รูปร่างและสัดส่วน
อวัยวะและระบบต่างๆ
น้าหนักและส่วนสูง
พัฒนาการทางการเคลื่อนไหว
การใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่
เกาะยืน
ลุกยืนได้เอง
เกาะเดิน
พัฒนาการทางสมอง-สติปัญญา
สติปัญญา ทักษะความสามารถ พฤติกรรม
สมัยก่อนเชื่อว่าสติปัญญาของบุคคลพันธุกรรม
เกิดจากพันธุกรรม และปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม
พัฒนาการทางภาษา
ต้องการการกระตุ้นและส่งเสริม
ประสานงานกับความคิด จิตใจ และความสามารถทางสรีระ
พัฒนาการทางอารมณ์-สังคม
เด็กจะมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลใกล้ชิด
สังคมจะหล่อหลอมบุคลิกภาพของบุคคลให้แตกต่างกัน
พัฒนาการด้านอารมณ์
สามารถควบคุมพฤติกรรม ขณะเกิดอารมณ์ได้ดี
พัฒนาการด้านสังคม
ด้านจริยธรรม
ด้านบุคลิกภาพ
พัฒนาการด้านการช่วยเหลือตนเองและสังคม
จ้องหน้า
ยิ้มตอบ
ป้อนตัวเอง
ยิ้มเอง
ทฤษฎีจิตสังคมของอิริคสัน (Psychological Theory)
มีต้นกาเนิดจากฟรอยด์
บุคลิกภาพเกิดจากอิทธิพลของสิ่งแวดล้อม
ขั้นพัฒนาการเป็นการตอบสนองต่อความต้องการของสังคมและวัฒนธรรม
พัฒนาการเป็นกระบวนการต่อเนื่อง
ขั้นที่ 1ความรู้สึกไว้วางใจหรือรู้สึกไม่ไว้วางใจ (อายุ 0-2 ปี)
ขั้นที่ 2ความรู้สึกเชื่อมั่นในตน หรือสงสัยไม่แน่ใจในความสามารถของตน (อายุ 2-3 ปี)
ขั้นที่ 3การเป็นพัฒนาความคิดริเริ่ม หรือ ความรู้สึกผิด (อายุ 3-5 ปี)
ขั้นที่ 4การรู้สึกว่าตนประสบความสาเร็จ หรือ รู้สึกด้อย (อายุ 6-12 ปี)
ขั้นที่ 5การรู้เอกลักษณ์ตนเองหรือการสับสนในเอกลักษณ์ตนเอง(อายุ 12-17 ปี)
ขั้นที่ 6ความรู้สึกว่าตนมีเพื่อนหรือมีความรู้สึกอ้างว้าง(อายุ 18-30 ปี)
ขั้นที่ 7ความรู้สึกรับผิดชอบแบบผู้ใหญ่หรือความรู้สึกเฉื่อยชา(อายุ 30-40 ปี)
ขั้นที่ 8ความรู้สึกมั่นคง และ หมดหวัง(อายุ 60 ปีขึ้นไป)
ทฤษฎีทางจริยธรรมของโคลเบอร์ก Kohlberg ’s Psychosocial Theory
ระดับที่ 1 ระดับก่อนกฎเกณฑ์
เด็กจะเคารพกฎเกณฑ์หรือหลีกเลี่ยงการถูกลงโทษ
รางวัลจะเป็นเครื่องล่อในการประพฤติตัวของเด็ก
ระดับที่ 2 ระดับตามกฎเกณฑ์
พยายามคล้อยตาม
การคล้อยตามในช่วงนี้เพื่อหลีกเลี่ยงการถูกประณาม
ระดับที่ 3 ระดับเหนือกฎเกณฑ์
การคล้อยตาม การยอมรับนับถือในช่วงนี้เป็นไปเพื่อผลประโยชน์ของชุมชน
พยายามคล้อยตามกฎเกณฑ์ต่างๆเพื่อให้ผู้อื่นยอมรับในตัวเขา