Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาทางนีโอพลาสมา (Anemia (สาเหตุ (ครรภ์แฝด,…
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาทางนีโอพลาสมา
Thalassemia
การพยาบาล
1.เสี่ยงต่อการติดเชื่อรุนเเรงมากขึ้นเนืองจาก
1.การทำลายเชื้อโรคของม้ามลดลง
2.ถูกตัดออก
3.เนื้อเยื่อขาดออกซิเจนเรื้อรัง
มีโอกาสเกิดความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองลดลง
3.เนื้อเยื่อได้รับออกซิเจนน้อยเนื่องจาก
1.เม็ดเลือดเเดงอายุสั้น
2.ขาดโฟเลท
4.มีโอกาสเกิดภาวะเหล็กเกิน
การรักษา
-การให้คำแนะนำ
-ถ้าซีดมากพิจารณาให้PRCหรือWBC รักษาระดับHb>8 g/dl
-ดูแลให้อาหารที่มีโปรตีน วิตามินและโฟเลทสูง
-ระมัดระวังการติดเชื้อ แนะนำทางพันธุกรรม
-ตัดม้ามทิ้ง
-การเปลี่ยนถ่ายไขกระดูก
-นัดพบทันตแพทย์ทุก6เดือน
ความหมาย
1.ความผิดปกติของการสร้างฮีโมโกลบิลเม็ดเลือดแดงแตกง่ายกว่าปกติ
2.โรคโลหิตจางโดยกำเนิด ถ่ายทอดทางพันธุกรรมOutosomia resessive
3.บิดาและมารดาเป็นพาหะ
-บิดาหรือมารดาเป็นพาหะเพียงคนเดียว บุตรมีโอกาสเป็นพาหะ50% ปกติ50%
-บิดาและมารดาเป็นพาหะทั้งคู่ บุตรมีโอกาส เป็นโรค25% เป็นพาหะ50% ปกติ25%
-บิดาเป็นโรค มารดาเป็นพาหะ บุตรมีโอกาสเป็นโรค50% เป็นพาหะ50%
-บิดามารดาเป็นโรคทั้งคู่ บุตรมีโอกาสเป็นโรค100%
การวินิจฉัย
-ตรวจหาสารเหล็ก(Serum Iron Total Iron Binding Capacity)
-ตรวจหาภาวะAlpha Talassemia
-ซักประวัติเดียวกันในญาติพี่น้อง
-ภาวะซีด เหลือง ตับม้ามโต
-Hct :Hb WBC ต่ำกว่าปกติ
-ตรวจวินิจฉัยโรคโลหิตจางทางพันธุกรรม(Hb Typing)
อาการและอาการแสดง
-มีภาวะหัวใจโต เนื่องจากมีภาวะซีดและมีธาตุเหล็กมากเกินไปและจับที่กล้ามเนื้อหัวใจ ทำให้เหนื่อยง่าย
-เจริญเติบโตช้า ตัวเล็ก ไม่สมวัย
-ตับ ม้ามโต
-ซีดเรื้อรัง ตาเหลือง เหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย
-ไขกระดูกหดตัว กระดูกหน้านูน หน้าผากสูง โหนกแก้มยื่น กรามบนและกรามล่างหนาขึ้น
-ผิวสีคล้ำ เนื่องจากมีการสะสมของเหล็ก
Hemophilia
การรักษา
1.ทดแทนด้วยส่วนประกอบของเลือดที่มีปัจจัยการแข็งตัวของเลือดที่หายไป พลาสม่าสดแช่แข็ง (fresh frogen plasmer) แฟคเตอร์ VIIIแยกส่วน(cryopreciditate) พลาสม่าผง,พลาสม่าแฟคเตอร์เข้มข้น
2.รักษาอาการเลือดออกในแต่ละอวัยวะถ้าเป็นก้อนเลือดให้ประคบด้วยน้ำแข็งในวันแรกวันต่อมาให้ประคบด้วยน้ำอุ่นถ้าเลือดออกในข้อใช้ผ้ายืดพันให้ข้อได้พักและเริ่มเคลื่อนไหวเมื่ออาการปวดข้อทุเลาลง
3.ให้ corticosteriol
4.ให้คำแนะนำทางด้านพันธุกรรม
การวินิจฉัย
1.การชักประวัติ ประวัติเลือดออกหยุดยาก เป็นๆหายๆตั้งแต่เด็ก ประวัติครอบครัวเป็นโรคฮีโมฟีเลีย
2.การตรวจร่างกาย พบจ้ำเลือดหรือก้อนเลือด เลือดออกในข้อ เคลื่อนไหวข้อไม่ได้
3.การตรวจทางห้องปฎิบัติการ ระยะเวลาหดตัวของลิ้มเลือด ยาวกว่าปกติ PTTยาวกว่าปกติ Clotting activity ของแฟคเตอร์VIII lX ต่ำกว่าปกติ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
1.อาจเกิดอันตรายจากภาวะเลือดออกง่าย
2.ผู้ป่วยไม่สุขสบายเนื่องจากปวดบริเวณที่มีเลือดออก
3.ผู้ป่วยและญาติวิตกกังวลและไม่เข้าใจในเรื่องการปฏิบัติตัว
พยาธิวิทยา
เกิดจากร่างกายไม่สามารถสร้างแฟคเตอร์ VIII IX XI ได้ทำให้ร่างกายมีภาวะพร่องปัจจัยการแข็งตัวของเลือดเกิดลิ่มเลือดได้น้อยกว่าปกติ ส่วนน้อยเกิดจากร่างกายสร้างโปรตีนที่มีโครงสร้างผิดปกติ
ปัจจัยการแข็งตัวของเลือด
1.ชนิดรุนแรงมากมีระดับแฟคเตอร์VIII หรือ IX-5%
3.รุนแรงน้อยมีระดับแฟคเตอร์VIII หรือ 5-25%
2.ชนิดรุนแรงมีระดับแฟคเตอร์ VIII หรือ IX-5%
ความหมาย
เป็นโรคทางพันธุกรรมที่มีภาวะที่เลือดออกง่ายหยุดยาก เรื้อรังเป็นๆหายๆมาตั้งแต่กำเนิดจนตลอดชีวิต
ชนิด
1 Hemophilia A พร่องแฟคเตอร์ VIII
2 Hemophilia B พร่องแฟคเตอร์ IX
3 Hemophilia Cพร่องแฟคเตอร์ XI
อาการและอาการแสดง
Hemophilia A และ Hemophilia B จะคล้ายคลึงกัน Hemophilia C จะรุนแรงน้อยกว่าระยะเลือดออกเฉียบพลัน(Acute Hemarhrosis) ระยะข้ออักเสบเรื้อรัง(Chronic Hemophilic Arthritis
1.เลือดออกในข้อ(Hemarthrosis) ข้อที่มีเลือดออกบ่อยที่สุด คือ ข้อเข่า ข้อเท้า ข้อศอก ข้อนิ้วเท้า โดยแบ่งออกเป็น2ระยะ
2.เลือดออกในกล้ามเนื้อ ส่วนใหญ่เป็นที่กล้ามเนื้อขา
3.เลือดออกในสมอง ทำให้ผู้ป่วยอาจเกิดอัมพาตกล้ามเนื้ออ่อนแรง พัฒนาการช้า ชัก ปัญญาอ่อนได้
4.มีก้อนเลือดที่กระดูกอ่อน (HemophilicCyst)
5.อาการที่แสดงถึงภาวะเลือดออกที่บริเวณอื่นๆ เช่น เหงือกและฟัน เลือดกำเดา ปัสสาวะเป็นเลือด
Anemia
สาเหตุ
ครรภ์แฝด
หญิงตั้งครรภ์ช่วง3เดือนสุดท้าย
รกเกาะต่ำ
การดูดซึ่งของลำไส้ไม่ดี
การคลอดก่อนกำหนด
มีแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้
มีการสะสมธาตุเหล็กน้อยกว่าปกติ
ผู้ที่รับประทานอาหารไม่เพียงพอ
การมีประจำเดือนมาก
ยาต้านการแข็งตัวของหลอดเลือด ยาแอสไพริน สเตียรอยด์
อาการและอาการแสดง
หายใจลำบากขณะออกแรง
รู้สึกเหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย แม้จะเป็นการทำกิจกรรมปกติในชีวิตประจำวัน
มีอาการตัวซีด อ่อนเพลีย ไม่สดชื่น
มึนงง วิงเวียนศีรษะ
มีอาการมือเท้าเย็น
เจ็บหน้าอก ใจสั่น
การวินิจฉัยโรค
การตรวจระดับฮีโมโกลบินในเลือดจะต่ำ
การตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (Complete Blood Count: CBC)
การตรวจนับปริมาณเม็ดเลือดแดงตัวอ่อน (Reticulocyte Count)
การตรวจระดับธาตุเหล็กในเลือดและร่างกาย
มีประวัติติดเชื้อ
มีประวัติเหนื่อยง่าย
การตรวจไขกระดูก
ผู้หญิงค่า• Hb <12. กรัม / เดซิลิตร HCT < 36,
ผู้ชาย Hb <13 กรัม / เดซิลิตร HCT < 39%
ถ้าขาดธาตุเหล็กมากๆหัวใจจะเต้นเร็ว
การป้องกัน
เลือกรับประทานอาหารที่อุดมด้วยธาตุเหล็ก วิตามินและสารอาหาร เช่น เนื้อสัตว์ ตับหมู โดยเฉพาะผู้หญิงที่ตั้งครรภ์ทารกและวัยรุ่น
ผู้สูงอายุควรพบแพทย์เป็นระยะเพื่อตรวจสอบภาวะโลหิตจางเนื่องจากการรับประทานอาหารประเภทโปรตีนและวิตามินที่ไม่เพียงพอ
ผู้ที่มีประวัติคนในครอบครัวเป็นภาวะโลหิตจางควรปรึกษาแพทย์เพื่อป้องกันความเสี่ยงในการส่งผ่านภาวะโลหิตจางทางพันธุกรรม
การรักษา
-ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหาร เช่น เนื้อสัตว์ ตับ
-หลีกเลี่ยงสาเหตุที่ทำให้เสียเลือด
-รักษาตามอาการ
การพยาบาล
ในรับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็ก เช่น เนื้อสัตว์ ตับ เลือดหมู -ป้องกันการติดเชื้อ
บันทึกปริมาณน้ำเข้า ออก ในร่างกาย
ให้ 0. 9% NSS 1000ml V rate 80ml / hr
บันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
ดูแลให้ผู้ป่วยพักผ่อนให้เพียงพอ
ลดภาวะความเครียด
การแบ่งชนิดของ Anemia
การสร้างเม็ดเลือดแดงน้อย (impaired red cell formation) แบ่งเป็น
สารอาหารในการสร้างเม็ดเลือดแดงไม่พอ (deficiency) ได้แก่ การขาดธาตุเหล็ก วิตามินบี 12 และโฟลิค เป็นต้น
ไขกระดูกฟ่อหรือมีเซลล์มะเร็งกระจายในไขกระดูก (beinc marrow failure / infiltration) ได้แก่ aplastic anemia, acute leukemia, neuroblastoma เป็นต้น
การเสียเลือดจากร่างกาย (blood Ioss) แบ่งเป็น
เสียเลือดเฉียบพลัน (acute blood loss) ได้แก่ ภาวะฉุกเฉินทางศัลยกรรม (surgical cincilion) เช่น splenic rupture
เสียเลือคเรื้อรัง (chronic blood loss) ได้แก่ พยาธิปากขอเลือดออกจากแผลในกระเพาะอาหาร หรือลำไส้เล็กส่วนต้น เป็นต้น
3.การแตกทำลายของเม็ดเลือดแดง (hermolytic aneria) แบ่งเป็น
จากภายนอกเม็ดเลือด (extractorpuscular) ได้แก่ istimmung hermolytic anemia เช่น (AIHA), SLE เป็นต้น
จากภายในเม็ดเลือด (cornuscular) ได้แก่ภาวะ G6PD deficiency, t pherocytosis เป็นต้น