Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 การดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่มีโรคร่วมกับการตั้งครรภ์…
บทที่ 3
การดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่มีโรคร่วมกับการตั้งครรภ์
ความผิดปกติของระบบทางเดินปัสสาวะ
(โรคติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ: urinary tract infection)
การติดเชื้อที่ระบบส่วนบนจะมีอาการมากกว่าส่วนล่าง เนื่องจากสรีระวิทยาท่อทางเดินปัสสาวะสั้นและอยู่ใกล้ทวารหนัก มีโอกาสสัมผัสเชื้อโรคง่ายกว่า ที่พบบ่อย ได้แก่
การติดเชื้อในกระเพาะปัสสาวะ (cystitis)
มีอาการปวดปัสสาวะบ่อย กระปริดกระปรอย ปัสสาวะขัด เจ็บเสียวเมื่อใกล้สุด ปัสสาวะขุ่นหรือมีเลือดปน โดยเฉพาะเวลาปัสสาวะสุด ตรวจปัสสาวะพบ WBC, bact, RBC จานวนมาก บางรายอาจมีปัสสาวะเป็นเลือดสดๆ
กรวยไตอักเสบ (pyelonephritis)
มีอาการแบบทันทีทันใด มีไข้สูงหนาวสั่น มีอาการคลื่นไส้อาเจียน เบื่ออาหารและปวดตื้อๆ บริเวณหลังส่วนล่าง เคาะเจ็บบริเวณชายโครงและกระดูกสันหลัง ตรวจปัสสาวะพบเม็ดเลือดขาวและเชื้อแบคทีเรีย เชื้อที่พบบ่อย ได้แก่ E.coli
กระตุ้นดื่มน้ำ วันละ 3 ลิตร และไม่กลั้นปัสสาวะเพื่อขับเชื้อออกจากร่างกาย
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะโดยไม่มีอาการ
อาการและอาการแสดง
ปัสสาวะแสบขัด กระปริประปรอย ปัสสาวะขุ่น ถ้ามีอาการมากปัสสาวะอาจเป็นหนองได้
บางรายอาจมีการติดเชื้อไปที่ถุงลมปอด หายใจไม่สะดวก น้ำท่วมปอด หายใจลำบาก เม็ดเลือดแดงแตก ติดเชื้อในกระแสเลือด
มีอาการปวดท้อง ปวดบั้นเอวข้างใดข้างหนึ่งหรือทั้ง 2 ข้าง ปวดตื้อๆ เมื่อเคาะตาแหน่ง Costovertebral angle จะเจ็บมาก และมีอาการตึง บวม
มีไข้สูง หนาวสั่น T 34-40 ˚C ร่วมกับอาการปวดศีรษะ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ
เช็ดตัวลดไข้
ผลของโรคต่อการตั้งครรภ์
ผลต่อมารดา
ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ภาวะโลหิตจางเพิ่มสูงกว่าปกติ
แนะนำทานอาหารตามปกติ เพิ่มโปรตีน เกลือแร่ โดยเฉพาะวิตามินซีและธาตุเหล็ก
ผลต่อทารก
IUGR
Perinatal death
Preterm labor
หลักการพยาบาล
เน้นดื่มน้ำเพียงพอไม่น้อยกว่า 8 10 แก้ว/วัน หรือ 2,000-3,000 ml. ลดความเข้มข้นของเชื้อโรคในกระเพาะปัสสาวะ
ไม่กลั้นปัสสาวะ เพื่อระบายเชื้อโรคจากร่างกาย
สังเกตอาการผิดปกติเช่น ปัสสาวะแสบขัด ปัสสาวะลาบาก มีไข้ ปวดเหนือเหน่าหรือหลัง เด็กดิ้นน้อย มดลูกหดรัดตัวมากกว่าปกติ หรือเจ็บครรภ์ ถ้ามีอาการเหล่านี้ให้พบแพทย์
แนะนำสังเกตนับลูกดิ้น ประเมินสภาวะทารกในครรภ์
รักษาความสะอาดร่างกาย โดยเฉพาะหลังการขับถ่าย ป้องกันการติดเชื้อซ้ำ
แนะนำให้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ประเมินอัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์ ประเมินภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
โรคหอบหืด
อาการและอาการแสดง
หายใจเร็ว ชีพจรเร็ว เหงื่อออกมาก อ่อนเพลีย ไม่สามารถคุยหรือทานอาหารได้
ถ้ามีอาการนานๆครั้ง 1 2 ครั้ง/เดือน ไม่เคยใช้ยาช่วยบรรเทาอาการหอบหืดหรือใช้น้อยกว่า 2 ครั้ง/สัปดาห์ ทากิจวัตรต่างๆ ไม่หอบเหนื่อย สภาพปอดปกติ ถือว่าควบคุมอาการได้
หายใจลำบากต้องใช้แรงในการหายใจเพิ่มขึ้น
ถ้ามีอาการหอบหืดเรื้อรัง ทากิจวัตรได้แต่หอบเหนื่อย มีหอบเฉียบพลับบ้าง มีการใช้ยาช่วยบรรเทาอาการ > 2 ครั้ง/สัปดาห์ ยังถือว่าควบคุมได้บ้าง
ไอเรื้อรัง จากหลอดลมหดเกร็ง เยื่อบุทางเดินหายใจบวม มีเสมหะขังอยู่ เสมหะอุดกั้นทางเดินหายใจบางส่วน/ทั้งหมด
ถ้ามีอาการหอบเฉียบพลันเกือบทุกสัปดาห์ แสดงว่าคุมอาการไม่ได้ โดยเฉพาะช่วง อายุครรภ์ 29 36 สัปดาห์ อาจเกิดอาการหอบหืดเฉียบพลันได้บ่อยขึ้น
หายใจลำบาก มีเสียง wheezing
ผลของโรคหืดต่อการตั้งครรภ์
ผลต่อมารดา เสี่ยงภาวะแทรกซ้อนจากหอบหืด หยุดหายใจ เสียชีวิตได้
ผลต่อทารก preterm labor DFIU Abortion เสี่ยงต่อภาวะขาดออกซิเจน IUGR Anomaly LBW
ถ้าควบคุมอาการได้ จะไม่มีผลต่อการตั้งครรภ์
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
แนะนำพบแพทย์เพื่อพิจารณายารักษาที่เหมาะสมขณะตั้งครรภ์
แนะนำอาหารโปรตีนสูง เลี่ยงอาหารเสริม/สังเคราะห์
ซักประวัติเกี่ยวกับโรคหอบหืด อาการ สารก่อภูมิแพ้ การรักษาและยาที่ได้รับ
ระวังสารก่อภูมิแพ้ต่างๆ การอยู่ใกล้ชิด/สัมผัสบุคคลที่มีอาการโรคระบบทางเดินหายใจ
แนะนำการพักผ่อนให้เพียงพอ
แนะนำอาการผิดปกติที่ควรพบแพทย์ก่อนนัด ได้แก่ มีเลือด/น้ำคร่ำทางช่องคลอด มดลูกหดรัดตัวแรง/ถี่ ทารกดิ้นน้อย มีอาการปวดศีรษะตาพร่า ขา เท้าบวม
ติดตามประเมินภาวะสุขภาพทารกในครรภ์ ขนาดของมดลูกสัมพันธ์กับอายุครรภ์ FHR UC NST
ระยะเจ็บครรภ์คลอดและระหว่างการคลอด
ประเมินความก้าวหน้าการคลอด FHR V/S
Pain management ระหว่างการเจ็บครรภ์ คลอด
จัดนอนศีรษะสูง
ดูแลให้ผู้คลอดได้รับยา corticosteroid ทางหลอดเลือดดำในระหว่างการเจ็บครรภ์คลอด
ระวังการให้ยา prostaglandin E1 (cytotec) หรือ E2 ในการชักนำให้เกิดการคลอด
เตรียมอุปกรณ์ และยาให้พร้อมสำหรับช่วยเหลือผู้คลอดและทารกในกรณีฉุกเฉิน
ระยะหลังคลอด
ระวังภาวะตกเลือดหลังคลอด
ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
ดูแลให้รับยารักษาโรคหอบหืดอย่างต่อเนื่อง ระวังและป้องกันการกำเริบของโรค เลี่ยงสิ่งกระตุ้นที่ทำให้เกิดอาการหอบหืด
โรคคอพอกเป็นพิษในหญิงตั้งครรภ์
อาการและอาการแสดงที่สำคัญ
Eating disorder รับประทานอาหารดี แต่น้ำหนักตัวไม่ขึ้น
ทานอาหารโปรตีนสูง คาร์โบไฮเดรต และวิตามินสูง ทานมื้อละน้อยๆ บ่อยๆ ครั้ง ทายวิตามิน บี 1 เพิ่มมากขึ้นพบมากในข้าวซ้อมมือ เนื้อหมู ถั่วต่างๆ และรับประทานอาหารระหว่างมื้อ เพื่อให้ร่างกายได้รับสารอาหารเพียงพอ
มีอาการแพ้ท้องมาก (hyperemesis gravidarum)
หัวใจเต้นเร็วโดยไม่รู้สาเหตุ ชีพจรสูงขณะนอนหลับ > 100 ครั้ง/นาที
เหนื่อย ใจสั่น อ่อนเพลีย มือสั่น ตื่นตัวตลอดเวลา ขี้ร้อน เหงื่อออกฝ่ามือ
ถ่ายเหลว
นอนพักผ่อนวันละ 8-10 ชั่วโมง พักหลังทานอาหาร 30 นาที -1 ชั่วโมง เพื่อลดการใช้พลังงานและการเผาผลาญอาหาร
ระวังการเกิดอุบัติเหตุจากกล้ามเนื้ออ่อนแรง มือสั่น
ต่อมไทรอยด์โต
ตาโปน exophthalmos
ผลต่อการตั้งครรภ์
ยาที่ใช้รักษาภาวะไทรอยด์เป็นพิษบางตัว มีผล teratogen effect ผู้ป่วยจึงควรคุมกำเนิดก่อนจนอาการของโรคดีขึ้น จึงเตรียมพร้อมสำหรับการตั้งครรภ์ โดยเปลี่ยนเป็นยา PTU ในปริมาณน้อย ซึ่งจะไม่มีผลต่อการเกิด teratogen effect โดยเฉพาะในระยะ 3 เดือนแรกของการตั้งครรภ์ เมื่ออายุครรภ์มากขึ้นอาจทำให้เกิดภาวะ Hypothyroidism และต่อมไทรอยด์โตในเด็กเนื่องจากยาที่รักษาโรคคอพอกเป็นพิษทุกตัวสามารถผ่านรกไปสู่เด็กได้
คอพอกเป็นพิษ โดยเฉพาะ Graves’ disease เป็นโรคทางพันธุกรรม ดังนั้นเด็กที่เกิดมาอาจเป็นโรคนี้แต่กำเนิด เรียก neonatal hyperthyroidism เนื่องจาก thyroid stimulating antibody สามารถผ่นรกทำให้ลูกเป็นโรคได้ ถึงแม้ว่าแม่จะรักษาให้อยู่ในภาวะ euthyroid
คอพอกเป็นพิษที่ยังไม่ได้รักษา ทำให้เกิดความดันโลหิตสูงระหว่างการตั้งครรภ์ หัวใจล้มเหลว
คอพอกเป็นพิษมีผลต่อทารกในครรภ์ คือ การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ช้า ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย ทารกมีภาวะขาดออกซิเจนหรือเสียชีวิตในครรภ์ได้
ประเมินสภาวะทารกในครรภ์ อัตราการเต้นของหัวใจทารก การเจริญของทารกตามไตรมาส
นางสาว จิราภรณ์ สนธิสัมพันธ์ เลขที่ 7
รหัสนักศึกษา 603901008