Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลในการช่วยเหลือผู้ที่มีปัญหาทางจิตสังคม…
การใช้กระบวนการพยาบาลในการช่วยเหลือผู้ที่มีปัญหาทางจิตสังคม
ผู้ที่มีพฤติกรรมไม่เป็นมิตร (Hostility)
ลักษณะอาการ
มักจะไม่มุ่งตรงต่อสิ่งของหรือตัวเอง
ไม่แสดงอาการเท่าความก้าวร้าว
มีพฤติกรรมการทำลาย (Destructive)
มีลักษณะคล้ายกับความโกรธ
ความรู้สึกที่เป็นปรปักษ์ที่ต้องการที่จะทำลายผู้อื่นให้ได้รับความอับอาย
วิธีการบำบัดทางการพยาบาล
กิจกรรมการพยาบาล
การพยาบาล
จัดสิ่งแวดล้อมรอบตัว
จัดเตรียมห้องแยกในกรณีมีพฤติกรรมรุนแรง
เตรียมเจ้าหน้าที่และอุปกรณ์เพื่อให้การช่วยเหลืออย่างฉุกเฉิน
พยาบาลต้องมีอารมณ์ที่สงบ สุขุม เยือกเย็น
เปิดโอกาสให้ได้ระบายความรู้สึกคับข้องใจ
เป้าหมาย
เพื่อป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับบุคคลอื่น
เพื่อให้ความรู้สึกไม่เป็นมิตรลดลง
การประเมินปัญหา
ด้านพฤติกรรม
เดินหนีหรือกำหมัดแน่น
ทำร้ายร่างกายผู้อื่น ทำลายสิ่งของ
ท่าทีเฉยเมย เงียบ
ด้านคำพูด
ส่อเสียด ดูถูก
ดุด่า ชวนทะเลาะ
ด้านร่างกาย
ชีพจรเต้นเร็ว
หายใจถี่ขึ้น
ความดันโลหิตสูง
กล้ามเนื้อเกร็ง
เหงื่อออกตามร่างกาย
การประเมินผลทางการพยาบาล
บุคคลนั้นสามารถบอกเกี่ยวกับความรู้สึกไม่เป็นมิตรได้
บุคคลนั้นแยกแยะสิ่งที่มาคุกคามทางจิตใจได้
สามารถหาแนวทางในการป้องกันและเผชิญปัญหาได้อย่างถูกต้อง
สาเหตุและกลไกทางจิต
รู้สึกสูญเสียคุณค่าในตนเอง (Low self-esteem)
ถูกปลูกฝังตั้งแต่วัยทารกเมื่อมีสิ่งคุกคามทางจิตใจ
บุคคลเก็บกดสิ่งที่ตนเองต้องการเอาไว้และเกิดความคับข้องใจของตนเอง
ผู้ที่มีพฤติกรรมก้าวร้าว (Aggression)
ลักษณะอาการ
พฤติกรรมก้าวร้าวแสดงออกทางร่างกาย
ทำร้ายคนอื่น
การกัด ตี ผลัก
การใช้อาวุธ
ทำร้ายตนเอง
หยิกข่วนตนเอง
ฆ่าตัวตาย
ทำลายสิ่งของ
ทุบทำลายสิ่งของ
ปิดประตูเสียงดัง
พฤติกรรมก้าวร้าวทางคำพูด
เอะอะอาละวาด
ขู่ตะคอกเสียงดัง
พูดในแง่ร้าย
พูดคำหยาบ
พูดตำหนิ
วิธีการบำบัดทางการพยาบาล
จัดกิจกรรมที่เสริมการออกแรง
เล่นดนตรี
ออกกำลังกาย
ทำความสะอาดบ้าน
แนะนำวิธีจัดการความโกธร
สำรวจและหาสาเหตุของความโกธร
นับ 1-100 เพื่อเบี่ยงเบนความสนใจ
ระบายกับคนที่ไว้วางใจได้ หรือเขียนลงกระดาษ
ทำกิจกรรมที่ออกแรงเพื่อปลดปล่อยพลังงานส่วนเกิน
รู้จักให้อภัยโดยมองหาจุดดีของบุคคล
เปิดโอกาสให้ระบายและรับฟังอย่างตั้งใจ
สาเหตุ
ปัจจัยทางด้านจิตสังคม
การถือแบบอย่าง
ลอกเลียนพฤติกรรมจากพ่อแม่ สื่อต่างๆ
ทฤษฏีทางด้านสังคมวิทยา
มีเรื่องกระทบกระเทือนจิตใจตั้งแต่เด็ก
ทฤษฏีทางด้านจิตวิทยา
ไม่ได้รับการตอบสนองความต้องการพื้นฐาน
ทฤษฏีจิตวิเคราะห์
ความก้าวร้าวเป็นสัญชาตญาณของมนุษย์
ปัจจัยทางด้านชีวภาพ
สารเคมีในสมองผิดปกติ
เจ็บป่วยทางกาย
ผู้ที่มีพฤติกรรมรุนแรง (Violence)
ลักษณะของผู้ที่มีพฤติกรรมรุนแรง
การใช้คำพูดเพื่อคุกคามให้บุคคลอื่นตกใจกลัว
การใช้กำลังกายเพื่อขู่ทำอันตรายต่อตนเอง และบุคคลอื่น
วิธีการบำบัดทางการพยาบาล
ประเมินระดับความรุนแรงของพฤติกรรม
สีหน้าบึ้งตึง
แววตาไม่เป็นมิตร
กระวนกระวายอยู่นิ่งไม่ได้
พยาบาลควรมีท่าทีเป็นมิตร และสงบ
ไม่ยืนมือเท้าเอว เหมือนวางอำนาจ
ควรยืนมือแนบข้างลำตัว
จัดสิ่งแวดล้อมเพื่อลดสิ่งกระตุ้น
ลดเสียงดัง
ลดแสงสว่าง
ลดการที่มีคนพลุกพล่าน
เก็บสิ่งของที่สามารถเป็นอาวุธได้
ตระหนักถึงช่องว่างระหว่างบุคคลเพื่อลดความรู้สึกถูกคุกคาม
กรณีมีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงเพิ่มมากขึ้น
จำกัดพฤติกรรม (Limit setting)
การใช้ห้องแยก (Seclusion)
การผูกมัดร่างกาย (Physical restrain)
การให้ยาตามแผนการรักษาของแพทย์