Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่มีโรคติดเชื้อ ร่วมกับการตั้งครรภ์…
การดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่มีโรคติดเชื้อ
ร่วมกับการตั้งครรภ์
โรคไวรัสตับอักเสบบี
HBsAg +ve
การเเพร่เชื้อ
-แพร่เชื้อทางเลือด + เพศสัมพันธ์ ฟักตัว 1-2 เดือนหลังรับเชื้อ +แพร่เชื้อ
สู่ทารกเกิด ช่วงคลอดทารกสัมผัสกับเลือด+สารคัดหลั่งฯ
-เป็นพาหะ มีการแพร่เชื้อสู่ทารกขณะคลอด ร้อยละ 10-20
-พาหะ + HBsAg +ve = แพร่สู่ทารกร้อยละ 70-90
-ติดเชื้อในระยะเฉียบพลัน ไตรมาสแรกแพร่เชื้อสู่ทารกร้อยละ 10
-ติดเชื้อในไตรมาส 3 สามารถแพร่เชื้อสู่ทารกได้ถึงร้อยละ 80-90
อาการ
-มีไข้ คลื่นไส้อาเจียน ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามตัว
-ปวดบริเวณช่องท้องส่วนบน
-ตัวเหลืองภายใน 1-2 สัปดาห์
-ร้อยละ 90 หายเอง ร้อยละ 10 ติดเชื้อเรื้อรัง + เป็นพาหะ
ผลต่อการตั้งครรภ์
ต่อมารดา: เสี่ยง GDM, PIH, Abruptio placenta
ต่อทารก:
-ร้อยละ 90 ของทารกที่ติดเชื้อระยะแรก >> โรคไวรัสตับอักเสบบีเรื้อรัง
-ได้วัคซีน HBIG และ HBV ไม่ครบชุด มีโอกาสติดเชื้อได้ร้อยละ 20
-ได้รับ HBIG และ HBV ครบ ป้องกันติดเชื้อ ร้อยละ 90 พบการติดเชื้อ ในรายที่ แม่ HBeAg +ve
การตรวจคัดกรอง
การป้องกัน
ติดเชื้อจากแมสู่ลูก
HBsAg +ve เจาะ HBeAg ประเมินจ้านวนไวรัสในเลือด
viral load > 1 ล้าน copies/ml ให้ยาต้านไวรัส ตั้งแต่ GA 28 wks
จนคลอด
ตรวจ ALT ประเมินการท้างานของตับ และสภาวะโรค
ป้องกันในทารกแรกเกิด
ให้วัคซีน HBV 0-2-6 เดือน
แม่ HBsAg +ve ให้ HBV เข็มแรก + HBIG ภายใน 12 ชั่วโมงแรก หลังคลอด และให้ HBV2 อายุ 1-2 HBV3- 6 เดือน แต่ถ้า BW <
2000 กรัม ให้วัคซีนเข็มแรกภายใน 1 เดือนหลังคลอด
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์ ตรวจคัดกรอง HBsAg เลี่ยง
การใช้ของที่อาจปนเปื้อนเลือดร่วมกับผู้อื่น
ระยะคลอด Suction ให้มากที่สุด เช็ดตา
และเช็ดทำความสะอาดร่างกายทารกทันที
ระยะหลังคลอดให้ HBIG ตั้งแต่แรกเกิด
ให้นมแม่ได้ ยกเว้น หัวนมแตก/เป็นแผล
เน้นทารกรับวัคซีนตามนัด
การถ่ายทอด
เชื้อจากแม่สู่ลูก
เลือดแม่ผ่านรก+สัมผัสสารคัดหลั่งตอนคลอด+ติดจากปากมดลูก,ปากช่องคลอด+ ท้าให้ถุงน้้าคร่้าแตก > ติดเชื้อ chorioamnionitis
โรคหัดเยอรมัน
การติดเชื้อ
ถ่ายทอดจากสารคัดหลั่งจากโพรงจมูก+ปาก
เชื้อไวรัสแบ่งตัวในระบบทางเดินหายใจ >>
แพร่เข้ากระแสเลือด >> แพร่เชื้อสู่ทารก
ผ่านทางรก
ถ้าได้รับเชื้อในช่วงก่อน 12 สัปดาห์ ทารกผิด
ปกติตั้งแต่กำเนิด
อาการ
แพร่เชื้อ ช่วง 7 วันก่อนมีผื่น จนถึงวันที่ 5-7 หลังจากมีผื่นขึ้น
ไข้ต่ำๆ เจ็บคอ มีน้ำมูก ตาแดง ปวดศีรษะ/ปวดเมื่อยตามตัว ต่อม น้ำเหลืองโต กดเจ็บ 1-5 วัน
มีผื่นแดงขนาดเล็ก หน้า > ล้าตัว > แขนขา หายเองใน 3 วัน
ปวดข้อ/ข้ออักเสบ 1-4 สัปดาห์ เยื่อหุ้มข้ออักเสบ ตับอักเสบ ซีดจากการแตกตัวของเม็ดเลือดแดง
ผลต่อการตั้งครรภ์
ติดเชื้อไตรมาสแรก ติดเชื้อแต่กำเนิด 80%
GA < 11 wk พิการแต่กำเนิด : หูหนวก ต้อกระจก ความผิดปกติ CNS หัวใจ
ไตรมาส 2 อัตราการติดเชื้อ ร้อยละ 25 หลัง GA 16 wk ไม่พิการ แต่พบ IUGR ,
GA 27-30 wks. อัตราการติดเชื้อ 35 %
GA > 36 wks มีการติดเชื้อ ร้อยละ 9
การวินิจฉัยตรวจ titer ภูมิคุ้มกันต่อ
หัดเยอรมัน : ELISA, IFA, HAI
สัมผัสเชื้อใน 1 สัปดาห์ เจาะ HAI ถ้ามี antibody >> มีภูมคุ้มกัน แต่ถ้า ไม่มีให้เจาะเลือดซ้ำ 4 สัปดาห์ถ้าพบ antibody >> เป็นหัดเยอรมัน
สัมผัสเชื้อ>1 wks เจาะ HAI มี antibody = มีภูมิ/รับเชื้อใหม่?? เจาะ HAI ซ้ำ ภายใน 1-2 wks ถ้า titer > ครั้งแรก 4 เท่าขึ้นไป แสดงว่า เป็นหัดเยอรมัน ตรวจ IgM ยืนยันการติดเชื้อหัดเยอรมัน หลังมีการติดเชื้อ - IgM ให้ผลบวก แสดงว่าเพิ่งเป็นหัดเยอรมันมาภายใน 4-6 สัปดาห์ - IgM ให้ผลลบแสดงว่าเพิ่งเป็นหัดเยอรมันมาเกิน 4-6 สัปดาห์
ป้องกัน+รักษา
ฉีดวัคซีนป้องกันหัดเยอรมันก่อนตั้งครรภ์อย่างน้อย 3 เดือน
รักษาตามอาการ ระวังแพร่เชื้อระยะ 7 วันหลังมีผื่น
การพยาบาล
อธิบายการป้องกัน การตรวจวินิจฉัย การปฏิบัติเลี่ยงการได้รับเชื้อ
แนะน้าANC ตามนัด F/U ทารกในครรภ์ และเฝ้าระวังการติดเชื้อ
อธิบายให้มารดาที่สัมผัสเชื้อ
• GA > 12 wks มีภูมิแล้ว โอกาสเกิดความผิดปกติน้อยมาก ANC ตามนัด และติดตามภาวะสุขภาพทารกในครรภ์
• GA < 16 สัปดาห์และไม่มีภูมิคุ้มกัน/ไม่แน่ใจ ถ้าพบการติดเชื้อ ทารกเสี่ยง ผิดปกติสูง โดยเฉพาะช่วง GA 3-10 สัปดาห์ พิจารณาให้ค้าปรึกษา/ทำแท้ง เพื่อการรักษา
• GA 16-20 สัปดาห์ มีโอกาสผิดปกติ 1 % (การได้ยิน) F/U หลังคลอด • GA > 20 สัปดาห์ ไม่มีรายงานความผิดปกติต่อทารก
โรคสุกใส, งูสวัด
(Varicella-Zoster)
การแพร่เชื้อ
เชื้อไวรัส varicella-zoster virus
แพร่กระจายทางไอ จาม การสัมผัส
ระยะฟักตัว 2-3wks
อาการ
ไข้+ปวดเมื่อยตามตัว+
ตุ่มใสคันตามร่างกาย+เป็นตอนท้อง
อาการจะรุนแรง จากภูมิคุ้มกันเปลี่ยนแปลง
ผลต่อการตั้งครรภ์
20 wks แรก เสี่ยง congenital varicella syndromes; ผิวแห้ง แขนขา ลีบเล็ก ปัญญาอ่อน สมองฝ่อ สมองอักเสบ ชัก เป็นอัมพาต ต้อกระจก - Preterm
ทารกที่ติดอีสุกอีใส 50%เสียชีวิตภายใน 2 ปีแรก
บางรายคลอดปกติ แต่มีอาการแบบติดเชื้องูสวัดใน 1 ปีแรก ผลต่อการตั้งครรภ์
ระยะ 7 วัน ก่อน-หลังคลอด แม่อาจมีปอดอักเสบ การหายใจล้มเหลว
ยืดเวลาคลอดไป อย่างน้อย 7 วันหลังมีผื่น เพื่อให้ภูมิแม่ส่งไปถึงลูกลดการติดชื้อ
การป้องกัน
ให้varicella-zoster immunoglobulin (VZIG) หลังจากได้รับเชื้อ ภายใน 96 ชั่วโมงเพื่อป้องกันการติดเชื้อไข้อีสุกอีใส
ห้ามฉีดขณะตั้งครรภ์
ให้ VZIG แก่ทารกแรกคลอดที่มารดาติดเชื้อภายใน 5 วันก่อนคลอด หรือ 2 วันหลังคลอด อาจพบทารกติดเชื้อรุนแรงได้ ร้อยละ 15
การพยาบาล
ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
ติดตามภาวะสุขภาพทารกในครรภ์
วางแผนการคลอด
โรคเริม
การติดเชื้อ
เชื้อไวรัสก่อโรค: Herpes simplex virus (HSV)
ร้อยละ 5 ผ่านทางรก >> ติดเชื้อแต่ กำเนิด
ร้อยละ 85 ในระยะคลอดที่ Cx.ช่อง คลอดเมื่อถุงน้ำคร่ำแตก +ระหว่าง การคลอด
ร้อยละ 10 ถ่ายทอดในช่วงหลังคลอด
อาการ
ระยะฟักตัว 3-6 วันหลังรับเชื้อ มีอาการ 2-4 สัปดาห์
มีตุ่มคันเจ็บและลายเป็นตุ่มน้ำใส >> แตกกระจายทั่วอวัยวะเพศ
แผลมีอาการคัน แสบและเจ็บ
มีไข้ต่ำๆคล้ายหวัด
ต่อมน้ำเหลืองที่ขาหนีบโต
การติดเชื้อซ้ำ
ระยะฟักตัว 7-10 วันภายหลังถูกกระตุ้น เกิดตุ่มหนองที่ตำแหน่งเดิม แต่จะมีอาการรุนแรงน้อยกว่า และระยะเวลาในการเป็นน้อยกว่าครั้งแรก 2-5 วัน
การวินิจฉัย
ซักประวัติการสัมผัสเชื้อ
ตรวจร่างกาย พบรอยโรคที่ผิวหนังอวัยวะเพศตุ่มใสเป็นกลุ่ม
ตรวจห้องปฏิบัติการ pap smear, Tzanck’s ขูด เนื้อเยื่อจากแผลมาตรวจหาเซลล์, การเพาะเชื้อ
ผลต่อการตั้งครรภ์
Abortion, preterm, IUGR
ติดเชื้อระยะคลอดและหลังคลอด ร้อยละ 30-50 ถ้ามีรอยโรคที่อวัยวะเพศมีพยาธิสภาพที่ตาปากผิวหนัง/ส่วนนำอาจทำให้พิการได้อัตราตาย 50%
การดแูลรักษา
ระยะก่อนคลอด
รักษาตามอาการ wet dressing, hygiene
เป็นครั้งแรกให้ยาต้านไวรัสเพื่อลดอาการ ลดแพร่เชื้อ
ติดเชื้อหรือเกิดโรคซ้ำ >> Hx.ติดเชื้อเริม/มีอาการให้ยาต้านไวรัสตั้งแต่ GA 36 wk จนคลอด เพื่อลดแพร่เชื้อไวรัส
ระยะคลอด
Set C/S ถ้ารอยโรคที่อวัยวะเพศ
ระยะหลังคลอด
ถ้ามีรอยโรคที่เต้านม งดนมแม่ แต่ถ้ามีรอยโรคที่อื่นให้ นมได้ ระวังทารกไม่สัมผัสกับรอยโรค + เฝ้าระวังอาการทารก