Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:star:การตรวจระบบประสาท :star: (การตรวจ cranial nerves (• Olfactory nerve…
:star:
การตรวจระบบประสาท
:star:
หลักการประเมินภาวะสุขภาพระบบประสาท
• การคลำ
• การสังเกต
• ท่าเดิน (Gait analysis)
• ท่าทาง (Posture)
• การประเมินระดับความรู้สึกตัว (Level of conscious)
• ส่วนโค้งกระดูกสันหลัง (Spinal curvatures)
• แนวกระดูกสันหลัง (Spinal alignment)
• การเคาะ
• ฟัง
• การตรวจกล้ามเนื้อ
• Motor power
• Muscle tone
• การตรวจการรับความรู้สึก
• Pinprick sensation
• Proprioception
• Temperature
Vibration
การเคาะและการฟัง
• เคาะตามแนวกระดูกสันหลังว่ามีอาการเจ็บที่ตำแหน่งใดหรือไม่
• ฟังว่ามีเสียงลั่นผิดปกตหรือไม่ขณะที่ให้ผู้ป่วยก้มเงย เอียงซ้ายขวา และ หมุนซ้ายขวา
การประเมินระดับความรู้สึกตัว
• ความตื่นตัว (alertness)
• ความสำนึกรู้ (awareness)และความคิด
ระดับความรู้สึกตัว
– งุนงง (Clouding of Consciousness)
– งุนงง สับสน (Confusional State)
– ความรู้สึกตัวดี (Alert, Consciousness)
ซึมมาก (Stuporous)
ง่วงซึม (Drowsiness)
– คลั่งเสียสติ (Delirium)
– หมดสติอย่างอ่อน (Semicoma)
– หมดสติอย่างสิ้นเชิง (Coma)
การตรวจรับความรู้สึก
การตรวจรับความรู้สึก
• เปรียบเทียบกับบริเวณที่ปกติ
• เปรียบเทียบผลการตรวจทั้งข้างซ้ายและขวาว่าแตกต่างกันหรือไม่
• ขณะตรวจควรให้ผู้ป่วยหลับตา
• รายงานผลการตรวจว่าปกติลดลงหรือไม่สามารถรับรู้ได้
•
การประเมินระดับความรู้สึกตัว โดยใช้ Glasgow Coma
Scale)
– E = eye opening
• E1 = ไม่ลืมตาเลย
• E2 = ลืมตาเมื่อเจ็บ
• E3 = ลืมตาเมื่อเรียก
• E4 = ลืมตาเอง
• Ec = ตาบวมปิด (closed, contusion)
– M = motor response (สำคัญที่สุด)
• M1 = ไม่ขยับเลย
• M2 = Decerebration
• M3 = Decortication
• M4 = response to pain (ขยับเมื่อเจ็บ)
• M5 = localized to pain (เอามือปัดต าแหน่งเจ็บได้)
• M6 = obey to command (ท าตามค าสั่งได้)
– V = verbal response
• V1 = ไม่ออกเสียง
• V2 = ออกเสียงไม่เป็นภาษาไม่มีความหมาย
• V3 = ออกเสียงเป็นภาษาเป็นค าๆมีความหมาย
• V4 = ออกเสียงเป็นประโยคแต่สับสน
• V5 = พูดคุยได้ตามปกติ
• ภาวะที่ทำให้ประเมิน GCS ผิด
– Hypotension (shock)
*
– Hypothermia
– Hypoxemia
– Drunken (blood alcohol >100 mg%)
– Under sedation
บริเวณรับความรู้สึกของผิวหนังที่ถูกเลี้ยงด้วยเส้นประสาทต่างๆ
• ต้นแขน C3-4
• ใต้กระดูกสะบัก C5
• รักแร้ T1
• ราวนม T4
• ลิ้นปี่ T6
• สะดือ T10
• ขาหนีบ L1
• ต้นขา L2
• หัวเข่า L3
• หน้าแข้ง L4 L5
• นิ้วก้อยเท้า S1
สังเกต
• ความร่วมมือ บุคลิกภาพ ความพิการ การเดิน
• ควรบันทึกให้ชัดเจนว่าตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นอย่างไร
• ความพิการ เช่น อัมพาตครึ่งซีก ชัก เกร็งของกล้ามเนื้อ
การพูดที่ผิดปกติ
• การเดิน
การคลำ
• คลำหาตำแหน่งจุดกำหนดกายวิภาคต่างๆแนวspinous process โดยเฉพาะ C7, T1
• คลำหาจุดกดเจ็บ
• คลำว่ามีต่อมน้ำเหลืองหรือก้อนผิดปกติหรือไม่
• คลำว่ามีกระดูกสันหลังเคลื่อนหรือนของกระดูกสันหลังถ้ามีการเลื่อนของกระดูกสันหลังจะคลำspinous process ได้ต่างระดับกันเรียกว่า step-off
• ตำแหน่งของสันกระดูกปีกสะโพก (iliac crest) ตรงกับระดับ L4-L5 และ posterior superior iliac spine จะอยู่ที่ S2 กดบริเวณ sciatic notch ถ้ากดเจ็บแสดงว่าน่าจะมีการระคายเคืองต่อเส้นประสาท
• ตรวจกล้ามเนื้อข้างกระดูกสันหลังว่ามีการหดเกร็งจุดกดเจ็บหรือมีการหดเกร็ง
• สัมผัสอุณหภูมิของผิวหนังว่าร้อนผิดปกติหรือไม่
การตรวจ cranial nerves
• Olfactory nerve ให้ผู้ป่วยหลับตาแล้วดมกลิ่นต่างๆ
• Optic nerve ตรวจ visual field, visual acuity
• Oculomotor, Trochlear, Abducen nerve ตรวจ direct light reflex,consensual light reflex, reaction to convergence, ptosis, strabismus, conjugate eye movement, nystagmus
• Trigeminal nerve รับความรู้สึกที่ใบหน้าและควบคุมกล้ามเนื้อในการเคี้ยวอาหาร
• Facial nerve ควบคุมกล้ามเนื้อหน้าแสดงอารมณ์และรับรส
• Vestibulo Cochlear nerve การฟัง เสียง และการทรงตัว ตรวจการได้ยิน
• Accessory nerve ควบคุมการเคลื่อนไหวของ sternocleidomastoid และ trapezius
• Hypoglossal nerve ควบคุมกล้ามเนื้อของลิ้น
การตรวจระบบประสาท
• พยาธิสภาพที่ทำให้ผู้ป่วยที่สูญเสียกำลังกล้ามเนื้อและการับรู้ ความรู้สึก อาจเกิดขึ้นที่สมอง ไขสันหลัง รากประสาท ข่ายประสาทและเส้นประสาทส่วนปลาย
การตรวจกำลังกล้ามเนื้อ
เคลื่อนไหวต้านแรงผู้ตรวจได้เต็มที่เป็นปกติ= 5
ต้านแรงผู้ตรวจได้ไม่เต็มที่ = 4
เคลื่อนไหวต้านแรงโน้มถ่วงโลกได้แต่ต้านแรงผู้ตรวจไม่ได้ = 3
เคลื่อนไหวได้เพียงแนวราบไม่สามารถต้านแรงโน้มถ่วงของโลก = 2
เคลื่อนไหวได้เพียงพอมองเห็นได้พบการหดตัวของกล้ามเนื้อ = 1
ไม่มีการเคลื่อนไหวเลย = 0
การตรวจรีเฟล็กซ์
-บอกตำแหน่งพยาธิสภาพว่าอยู่ที่สมองหรือไขสันหลังหรือตั้งแต่ราก ประสาทลงมา
-Deep tendon reflex
-Superficial reflex
การตรวจพิเศษStraight leg raising test (SLRT)
เป็นการตรวจที่ทำให้เส้นประสาท sciaticและรากประสาท
ู
ารเล
ก
สันหลัง จะคล า spinous process ได้ต่างระดับกันเรียกว่า step-off
ุ
่
:<3:
นางสาวประกายแก้ว โพธิโคตร์ ชั้นปีที่ 1:<3: รุ่นที่ 27 ห้อง B เลขที่ 66