Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคเริม (สาเหตุ (ร้อยละ 5 ผ่านทางรก >> ติดเชื้อแต่กำเนิด, ร้อยละ 85…
โรคเริม
-
การวินิจฉัย
-
ตรวจห้องปฏิบัติการ pap smear, Tzanck’s ขูดเนื้อเยื่อจากแผลมาตรวจหาเซลล์, การเพาะเชื้อ
-
การดูแลรักษา
-
ถ้ามีรอยโรคที่เต้านม งดนมแม่ แต่ถ้ามีรอยโรคที่อื่นใหนมได้ ระวังทารกไม่สัมผัสกับรอยโรค + เฝ้าระวังอาการทารก
-
ติดเชื้อหรือเกิดโรคซ้ำ >> Hx.ติดเชื้อเริม/มีอาการ ให้ยาต้านไวรัสตั้งแต่GA 36 wk จนคลอด เพื่อลดแพร่เชื้อไวรัส
รักษาตามอาการ wet dressing, hygiene
กิจกรรมการพยาบาล
ระยะคลอด
- ระวังสัมผัสต้าแหน่งรอยโรค
- ระวังการติดเชื้อ/ แพร่เชื้อ
- เช็ดตา เช็ดตัวให้แห้ง สะอาด ป้ายตาทารกด้วย 1% terramycin ointment
ระยะหลังคลอด
- ให้นมแม่ได้ถ้าไม่มีรอยแผลบริเวณหัวนม เต้านม เน้นรักษาความสะอาดร่างกาย ล้างมือ ก่อน-หลังสัมผัสทารก ระวังสัมผัสรอยโรค
- เน้นการมาตรวจตามนัดทั้งมารดาทารก
- แยกของใช้มารดาทารกที่มีการติดเชื้อ
ระยะตั้งครรภ์
- ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ อาการและอาการแสดง/รอยโรค
- ให้ค้าแนะนำการปฏิบัติตัว การรักษาความสะอาด การป้องกันการแพร่เชื้อทานยาสม่ำเสมอ อาการผิดปกติที่ต้องพบแพทย์
- อธิบายโรค ภาวะแทรกซ้อน การแพร่กระจายเชื้อ แผนการรักษา
-
อาการและอาการแสดง
ระยะฟักตัว 7-10 วัน ภายหลังถูกกระตุ้น เกิดตุ่มหนองที่ตำแหน่งเดิมแต่จะมีอาการรุนแรงน้อยกว่า และระยะเวลาในการเป็นน้อยกว่าครั้งแรก 2-5 วัน
- ระยะฟักตัว 3-6 วันหลังรับเชื้อ มีอาการ 2-4 สัปดาห์
-
-
-
-
ผลต่อการตั้งครรภ์
-
ติดเชื้อระยะคลอดและหลังคลอด ร้อยละ 30-50 ถ้ามีรอยโรคที่อวัยวะเพศมีพยาธิสภาพที่ตา ปาก ผิวหนัง/ส่วนน้า อาจทำให้พิการได้ อัตราตาย 50%
-
-
-
-