Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคคอพอกเป็นพิษในหญิงตั้งครรภ์ (การรักษา ((PTU ขนาดต่ำๆ ยับยั้งการสร้างฮอร…
โรคคอพอกเป็นพิษในหญิงตั้งครรภ์
การพยาบาล
ให้ข้อมูลโรค การรักษา อาการและอาการแสดง การดูแลตนเอง
ให้คำแนะนำเพื่อป้องกันอันตรายและภาวะแทรกซ้อน ได้แก่
นอนพักผ่อน ลดการใช้พล้งงานและการเผาผลาญอาหาร
ทานอาหารโปรตีนสูง คาร์โบไฮเดรต และวิตามินสูง ให้พลังงานเพียงพอ
ทานยา สังเกตอาการข้างเคียงของยา เช่น ผื่นคัน ปวดข้อ ไข้
ระวังการเกิดอุบัติหตุ กลัามเนื้ออ่อนแรง มือสั่น
นับลูกดิ้น และมาตรวจครรภ์ตามนัด
ประมินทารกในครรภ์ FHR การเจริญของทารกตามไตรมาส
การวินิจฉัย
ต่อมไทรอยด์โต
HR > 100 ครั้ง/นาที
Eating disonder น้ำหนักตัวไม่ขึ้น
hyperemesis gravidarum
เหนื่อย ใจสั่น อ่อนเพลีย มือสั่น ตื่นตัวตลอดเวลา
ขี้ร้อน เหงื่อออกฝ่ามือ ถ่ายเหลว
ตาโปน exophthalmos
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ㆍ TSH ต่ำ
ㆍ T3 สูง
ㆍ T4 บางรายอาจไม่สูง
ผลต่อการตั้งครรภ์
ยาเป็น teratogen GA 3เดือนแรกอาจพิการ GA มากขึ้นอาจเกิดHypothyroidism /ต่อมไทรอยด์โตในเด็ก
เป็นโรคไทรอยด์แต่กำเนิด :neonatal hyperthyroidism
ความดันโลหิตสูงระหว่างการตั้งครรภ์ หัวใจล้มเหลว
IUGR, LBW, fetal distress, DFIU
พยาธิสภาพ
Estrogen + hCG >> กระตุ้นต่อมไทรอยด์ทำงานเพิ่มขึ้น
ปริมาณเลือดเพิ่มขึ้น >ไตทำงานมากขึ้น > อัตราการกรองของไตสูงขึ้น > ขับไอโอดีนเพิ่มขึ้น >ขาดไอโอดีน > ไทรอยด์โต
การรักษา
PTU ขนาดต่ำๆ ยับยั้งการสร้างฮอร์โมนไทรอยด์ ให้นมแม่ได้ เนื่องจากผ่านทางน้ำนมได้น้อย
ให้ propranolol (B-adrenergic blocker) ลดอาการสั่น ลดหัวโจเต้นเร็ว แต่ระวังการเกิด IUGR ในทารก