Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการเรียนรู้และรูปแบบการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์คิดสร้างสร…
ทฤษฎีการเรียนรู้และรูปแบบการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์คิดสร้างสรรค์และการคิดแก้ปัญหา
ทฤษฎีการเรียนรู้ 8 ขั้นของ กาเย้ (Gagne)
ความสามารถในการจํา (Retention Phase)
ความสามารถในการระลึกถึงสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปแล้ว (Recall Phase )
การปรุงแต่งสิ่งที่รับรู้ไว้เป็นความจํา (Acquisition Phase) เพื่อให้เกิดความจําระยะสั้นและระยะยาว
การนําไปประยุกต์ใช้กับสิ่งที่เรียนรู้ไปแล้ว (Generalization Phase)
การรับรู้ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ (Apprehending Phase) ผู้เรียนจะรับรู้สิ่งที่สอดคล้องกับความตั้งใจ
การแสดงออกพฤติกรรมที่เรียนรู้ ( Performance Phase)
การจูงใจ (Motivation Phase) การคาดหวังของผู้เรียนเป็นแรงจูงใจในการเรียนรู้
การแสดงผลการเรียนรู้กลับไปยังผู้เรียน ( Feedback Phase)
ผู้เรียนได้รับทราบผลเร็วจะทําให้มีผลดีและประสิทธิภาพสูง
การเรียนรู้ตามทฤษฎี Bloom
การประยุกต์ (Application)
การวิเคราะห์ (Analysis) สามารถแก้ปัญหา ตรวจสอบได้
ความเข้าใจ (Comprehend)
การสังเคราะห์ (Synthesis) สามารถนําส่วนต่างๆ มาประกอบเป็นรูปแบบใหม่ได้ให้แตกต่างจากรูปเดิมเน้นโครงสร้างใหม่
ความรู้ที่เกิดจากความจำ (knowledge) ซึ่งเป็นระดับล่างสุด
การประเมินค่า (Evaluation) วัดได้ และตัดสินได้ว่าอะไรถูกหรือผิด ประกอบการตัดสินใจบนพื้นฐานของเหตุผลและเกณฑ์ที่แน่ชัด
การเรียนรู้ตามทฤษฎีของบรูเนอร์ (Bruner)
ผู้เรียนอยู่นสภาพแวดล้อมที่เป็นจริง
ผู้เรียนเลือกเนื้อหาและกิจกรรมเอง
ผู้เรียนเป็นผู้สร้างความหมายขึ้นมาจากแง่มุมต่างๆ
ผู้เรียนมีบทบาทรับผิดชอบในการเรียน
ความรู้ถูกสร้างหรือหลอมโดยประสบการณ์
เนื้อหาควรถูกสร้างในภาพรวม
การเรียนรู้ตามทฤษฎีของเมเยอร์ (Mayor)
เงื่อนไข:พฤติกรรมสำเร็จได้ควรมีเงื่อนไขในการช่วยเหลือ
มาตรฐาน:พฤติกรรมที่ได้นั้นสามารถอยู่ในเกณฑ์ที่กำหนด
พติกรรม:ควรชี้ชัดและสังเกตได้
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้:ข้อความรู้ที่พรรณนา/อธิบาย/ทํานาย
ปรากฏการณ์ต่างๆ เกี่ยวกับการเรียนรู้ซึ่งได้รับการพิสูจน์ทดสอบตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ได้รับการยอมรับว่าเชื่อถือได้และ
สามารถนําไปนิรนัยเป็นหลักหรือกฎการเรียนรู้ย่อยๆ
รูปแบบการเรียนรู้อย่างมีความหมายของออซูเบล
1.การแยกความแตกต่างให้แจ่มชัด
2.การใช้บทสรุปล่วงหน้า advance organizer
การวัดและประเมินความสามารถในการคิด
แนวทางของนักจัดกลุ่มจิตมิติ (Psychometric) : สามารถวัดได้โดยการวัดความสามารถทางสมองสู่การการวัดผลสัมฤทธิ์ บุคลิกภาพ ความถนัดและความสามารถในด้านต่างๆ รวมทั้งความสามารถในการคิด
แนวทางของการวัดจากการปฏิบัติจริง (Authentic Performancemeasurement):เน้นการวัดจากการปฏิบัติจริงในชีวิตหรือคล้ายจริง
แนวทางการพัฒนาการคิดจากต่างประเทศ
เอ็ดเวิร์ด เดอะโบโน : การพัฒนาการคิดโดยใช้โรแกรมสำเร็จรูป การใช้เทคนิคหมวก 6 ใบ
ศูนย์พัฒนาการคิดอย่างมีวิจารณญาณ : คู่มือการสอน สื่อต่างๆ
มีนักศึกษาจำนวนหลายท่านได้พัฒนารูปแบบการสอนที่เน้นการพัฒนาการบวนการคิดเช่น จอยส์และเวลส์,เอนนิส
รูปแบบการคิดแก้ปัญหาอนาคตของทอแรนซ์
ความยืดหยุ่นในการคิด
ความคิดริเริ่ม
ความคล่องแคล่ว
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
กลุ่มพฤติกรรมนิยมเป็นผู้นำทฤษฎีหลัก เป็นการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง
ทฤษฎีและแนวคิดของกลุ่มเกสตัลท์ (Gestalt)
การรับรู้:การแปลความหมายจากการสัมผสด้วยอวัยวะสัมผัสทั้ง 5 ส่วน คือ หู ตา จมูก ลิ้นและผิวหนัง
การเรียนรู้จากการหยั่งเห็น:การเรียนรู้ที่เกิดขึ้นจากการพิจารณาปัญหาในภาพรวม
การเรียนรู้ตามทฤษฎีของไทเลอร์ (Tylor)
การจัดช่วงลำดับ:จัดสิ่งที่ง่ายไปสู่สิ่งที่ยาก
บูรณาการ:การจัดประสบการณ์ที่ช่วยให้ผู้เรียนได้เพิ่มพูนความคิด
ความต่อเนื่อง:ต้องเปิดโอกาสให้มีการ