Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคติดเชื้อ-โรคหัดเยอรมัน (การวินิจฉัย (ตรวจ IgM (IgM ให้ผลบวก…
โรคติดเชื้อ-โรคหัดเยอรมัน
ถ่ายทอดจากสารคัดหลั่งจากโพรงจมูก+ปาก
เชื้อไวรัสแบ่งตัวในระบบทางเดินหายใจ >> แพร่เข้ากระแสเลือด >> แพร่เชื้อสู่ทารกผ่านทางรก
ถ้าได้รับเชื้อในช่วงก่อน 12 wk ทารกผิดปกติตั้งแต่กำเนิด
อาการและอาการแสดง
ฟักตัว 12-23 วัน แพร่เชื้อช่วง 7 วันก่อนมีผื่น
จนถึงวันที่ 5-7 หลังจากมีผื่นขึ้น
ไข้ต่ำๆ เจ็บคอ มีน้ำมูก ตาแดง
ปวดศีรษะ/ปวดเมื่อยตามตัว
ต่อมน้ำเหลืองโต กดเจ็บ 1-5 วัน
มีผื่นแดงขนาดเล็ก หน้า > ลำตัว > แขนขา หายเองใน 3 วัน
ปวดข้อ/ข้ออักเสบ 1-4 สัปดาห์
เยื่อหุ้มข้ออักเสบ
ตับอักเสบ ซีดจากการแตกตัวของเม็ดเลือดแดง
ผลต่อการตั้งครรภ์
ติดเชื้อไตรมาสแรก ติดเชื้อแต่กำเนิด 80%
GA < 11 wk พิการแต่กำเนิด ; หูหนวก ต้อกระจก ความผิดปกติ CNS หัวใจ
ไตรมาส 2 อัตราการติดเชื้อ ร้อยละ 25 หลัง GA 16 wk ไม่พิการ แต่พบ IUGR
GA 27-30 wks. อัตราการติดเชื้อ 35%
GA > 36 wks. มีการติดเชื้อร้อยละ 9
การวินิจฉัย
ตรวจ titer ภูมิคุ้มกันต่อหัดเยอรมัน ; ELISA , IFA , HAI
สัมผัสเชื้อใน 1 สัปดาห์ เจาะ HAI ถ้ามี Antibody >> มีภูมิคุ้มกัน แต่ถ้าไม่มีให้เจาะเลือดซ้ำ 4 สัปดาห์ ถ้าพบ Antibody >> เป็นหัดเยอรมัน
สัมผัสเชื้อใน > 1 สัปดาห์ เจาะ HAI มี Antibody = มีภูมิ/รับเชื้อใหม่ เจาะ HAI ซ้ำ ภายใน 1-2 สัปดาห์ ถ้า titer > ครั้งแรก 4 เท่าขึ้นไป แสดงว่าเป็นหัเยอรมัน
ตรวจ IgM
IgM ให้ผลบวก แสดงว่าเพิ่งเป็นหัดเยอรมันมาภานใน 4-6 wk
IgM ให้ผลลบ แสดงว่าเพิ่งเป็นหัดเยอรมันมาเกิน 4-6 wk
การป้องกัน
ฉีดวัคซีนป้องกันหัดเยอรมันก่อนตั้งครรภ์อย่างน้อย 3 เดือน
การพยาบาล
อธิบายการป้องกัน การตรวจวินิจฉัย การปฏิบัติเลี่ยงการได้รับเชื้อ
แนะนำ ANC ตามนัด F/U ทารกในครรภ์ และเฝ้าระวังการติดเชื้อ
อธิบายมารดาที่สัมผัสเชื้อ
GA > 12 wks มีภูมิแล้ว โอกาสเกิดความผิดปกติน้อยมาก ANC ตามนัด และติดตามภาวะสุขภาพทารกในครรภ์
GA < 16 wks และไม่มีภูมิคุ้มกัน/ไม่แน่ใจ ถ้าพบการติดเชื้อ ทารกเสี่ยงผิดปกติสูง โดยเฉพาะช่วง GA 3-10 wks พิจารณาให้คำปรึกษา/ทำแท้งเพื่อการรักษา
GA 16-20 wks มีโอกาสผิดปกติ 1% (การได้ยิน) F/U หลังคลอด
GA > 20 wks ไม่มีรายงานความผิดปกติต่อทารก
การรักษา
รักษาตามอาการ ระวังการแพร่กระจายเชื้อ 7 วันหลังมีผื่น
บทที่ 3 การดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่มีโรคร่วมกับการตั้งครรภ์
นางสาวเกตน์นิภา เกทะโล