Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของการตั้งครรภ์ (Hyperemesis gravidarum ภาวะอาเจียนอย่างรุนแรง…
ความผิดปกติของการตั้งครรภ์
ภาวะถุงน้ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์คลอด PROM
การวินิจฉัย
Fern test
Nitrazine paper test
ถ้าปัสสาวะสตรีตั้งครรภ์สามารถกลั้นได้ ส่วนน้ำคร่ำที่ไหลออกมาไม่สามารถกลั้นได้
ผลกระทบ
ทารก
ภาวะ perinatal asphyxia
การติดเชื้อของทารกในครรภ์และแรกเกิด
ภาวะแทรกซ้อนของการคลอดก่อนกำหนด
มารดา
postpartum endometritis
sepsis
intra-amnioticinfection หรือchorioamnionitis
สาเหตุ
การติดเชื้อในถุงน้ำคร่ำ (chorioamnionitis)
การตั้งครรภ์แฝด ครรภ์แฝดน้ำ
ภาวะรกเกาะต่ำ (placenta previa)
ทารกในครรภ์อยู่ในท่าที่ผิดปกติ
การรักษา
ประเมิน lung maturity
ประเมินการติดเชื้อ
ตรวจวินิจฉัยให้แน่นอนโดยการทำnitrazine test,
การให้ยา glucocorticoid เพื่อกระตุ้น lung maturity
การให้ยา antibiotic ในกรณีที่มีการติดเชื้อแล้ว
การให้ยายับยั้งการเจ็บครรภ์คลอด (tocolysis)
การพยาบาล
การพยาบาลเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากภาวะ PROM
การพยาบาลเพื่อป้องกันภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนการเจ็บครรภ์
Hyperemesis gravidarum
ภาวะอาเจียนอย่างรุนแรง
การแพ้ท้องปกติ (morning sickness)
อาการรุนแรงมากที่สุดเมื่ออายุครรภ์ประมาณ 9-12 wks.และอาการจะหายไปเมื่ออายุครรภ์ 20wks.
สาเหตุ
การเพิ่มระดับของ (HCG) มีการสร้าง thyroxin เพิ่มขึ้น
การตั้งครรภ์ที่มีระดับ HCG เพิ่มมากกว่าปกติ
endocrine imbalance
ภาวะแทรกซ้อน
Hyperthyroidism
ภาวะ metabolic acidosis/Ketosis
ภาวะขาดน้้า ขาดอาหารรุนแรง
อาการ
อาการรุนแรงน้อย
อาเจียน < 5 ครั้ง/วัน
อาการรุนแรงปานกลาง
อาเจียน > 5-10 ครั้ง/วัน
มีภาวะเลือดเป็นกรด
อาการรุนแรงมาก
ขาดอาหารรุนแรง
อาเจียน > 10 ครั้งต่อวัน
การวินิจฉัย
poor skin turgor
ลมหายใจมีกลิ่นอะซิโตน
แนวทางการรักษา
ให้ยาระงับอาเจียนได้แก่ promethazine 25 mg.
ควรหลีกเลี่ยงยา ยา Thalidomide
ให้ยาคลายกังวล และยานอนหลับ ให้วิตามิน B6
หลีกเลี่ยง อาหารมัน และกลิ่นที่ท้าให้คลื่นไส้ อาเจียน
ดูแลด้านจิตใจ
แก้ไขภาวะขาดน้้า ความไม่สมดุลของอิเล็กโตรไลต์
ทารกตายในครรภ์ Dead fetus in utero
การวินิจฉัย
มดลูกไม่โตขึ้นในระยะเวลา 3 สัปดาห์
พบว่าทารกไม่ดิ้น, เต้านมเหลว ยุบ
Amniocentesis เจาะน้ำคร่ำผ่านหน้าท้อง
อาจคลำหรือตรวจภายในพบ ศีรษะน่วม กะโหลกศีรษะยุบ
อาการสำคัญ
คลื่นความถี่สูง
อายุครรภ์ 9 สัปดาห์ เป็นต้นไป Realtime
อายุไม่เกิน 8 สัปดาห์ ตรวจพบถุงน้ำแต่ไม่มีตัว emply sac
ชีวเคมี
Alpha fetoprotein (AFP) สูงขึ้น
ระดับ Estriol ลดต่ำลงทันทีภายใน 24-48 ชม.
ถ่ายภาพรังสี
Robert’s sign
พบการงุ้มงอ
Deuel’s sign
Spaulding’s sign
สาเหตุ
ด้านทารก
ทารกพิการแต่กำเนิด โดยมีความผิดปกติของโครโมโซม
เกิดการติดเชื้อไวรัส
เกิดการกดทับสายสะดือจากสายสะดือ
ด้านรก
มีรกเกาะต่ำรกลอกตัวก่อนกำหนด
ด้านแม่
ตั้งครรภ์เกิดกำหนดทำให้รกเสื่อม
โรคแทรกซ้อนร่วมกับการตั้งครรภ์
ภาวะแทรกซ้อน
การติดเชื้อ
DIC
ความหมาย
Intermediate fetal death 20-28 สัปดาห์
Late fetal death 28 สัปดาห์ขึ้นไป
Early fetal death 12- 20 สัปดาห์ หากเสียชีวิตก่อน
อายุครรภ์ 12 สัปดาห์เรียกว่า embryonic death
การรักษา
กรณีมีโรคประจำตัว เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด
หลีกเลี่ยงการใช้prostaglandin
ยุติการตั้งครรภ์
เฝ้าระวังภาวการณ์แข็งตัวของเลือดผิดปกติ
ความผิดปกติของน้้าคร่ำ
ภาวะน้ำคร่ำน้อย (oligohydramnios)
อาการและอาการแสดง
มารดารู้สึกว่าทารกเคลื่อนไหวน้อยกว่าปกติ
ขนาดของมดลูกเล็กกว่าอายุครรภ์
การรักษา
เติมสารละลายเข้าไปในถุงน้ำคร่ำ(amnioinfusion)
ติดตามและประเมินการเจริญของทารกในครรภ์อย่างต่อเนื่อง
หากทารกอยู่ในภาวะอันตรายพิจารณาให้คลอดโดยวิธีที่เหมาะสม
สาเหตุ
ทารกมีความผิดปกติของโครโมโซม
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
ทารกมีความพิการของระบบทางเดินปัสสาวะ
prolonged PROM
post-term
ผลต่อทารก
เกิด Potter sequence
พบ variable deceleration
ทารกเกิดภาวะ amniotic band syndrome
แท้ง โดยเฉพาะในไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์
ภาวะครรภ์แฝดน้ำ polyhydramnios
การประเมินและวินิจฉัย
ผนังหน้าบางตึงใส คลำส่วนของทารกได้ยาก FHS ไม่ชัดเจน และคลำพบการสั่นสะเทือนของน้ำ(fluid thrill)
Amniotic fluid index (AFI)
อาการและอาการแสดง
มดลูกมีขนาดโตกว่าอายุครรภ์
ทารกมีส่วนนำผิดปกติหรืออยูในท่าผิดปกติ
ปัสสาวะออกน้อย
หายใจลำบาก
ขาและอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกบวม
ไม่สุขสบาย
สาเหตุ
การตั้งครรภ์แฝดโดยเฉพาะชนิด monozygotic twin
ทารกในครรภ์มีความพิการของระบบประสาทส่วนกลาง
มารดาเป็นโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้้าตาลได้ไม่ดี
hydrops fetalis
ผลต่อ
ทารก
การเกิดก่อนกำหนดสูงเป็นสองเท่า
ทารกมีความผิดปกติ
อัตราตายปริกำเนิดสูง
มารดา
PROM
เกิดการตกเลือดหลังคลอด
Preterm labor
การรักษา
U/S ทุก 3-4 สัปดาห์
ลำบากในการเคลื่อนไหวให้ admit
ความรุนแรงระดับ mild และmoderate hydramnios ไม่ให้การรักษา
ให้ยา indomethacin
ระวังการเกิด cord prolapse และ placenta abruption และ
เฝ้าระวังการเกิด PPH หลังคลอด
preterm labor pain ให้รักษาตามแนวทาง preterm labor
การเจ็บครรภ์ก่อนกำหนด
ผลกระทบ
ทารก
ทารกเสียชีวิต
ผิดปกติระบบประสาท ปัญญาอ่อน พัฒนาการช้า เจ็บป่วยบ่อย
ทารกมีอาการแทรกซ้อน
ผลกระทบต่อครอบครัว เครียด เศรษฐกิจ
การวินิจฉัย
กาหนดตั้งแต่อายุครรภ์ 24 สัปดาห์
หากอายุครรภ์ไม่แน่นอนให้ยึดน้ำหนักตั้งแต่ 500 กรัมขึ้นไป
ครรภ์ก่อน 37 สัปดาห์
ปัจจัยส่งเสริม
ปัจจัยเสี่ยงที่พบได้จากอาการ
ปัจจัยเสี่ยงที่สามารถปรับแก้ไขได้
ประวัติทางสูติกรรมและนรีเวชกรรม
ปัจจัยเสี่ยงที่พบได้จากการคัดกรอง (screening)
การรักษา
การรักษาตามสาเหตุ
ประเมินหาสาเหตุที่ชัดเจนในการวางแผนการรักษา
การให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก (tocolytic drugs)
ประเมินอายุครรภ์และสภาวะของทารกในครรภ์
การให้ยากระตุ้นการเจริญของปอดทารก
การให้ยาปฏิชีวนะในระยะคลอดกรณีที่ไม่สามารถยับยั้งการคลอดได้
การป้องกันการเกิด PTB
Sedation
Antibiotic
Hydration
Bed rest
การใช้ยาเพื่อยับยั้งการคลอด
Calcium antagonist
ข้อห้ามใช้ โรคหัวใจ โรคไต ความดันโลหิตต่ำ
แคลเซียมเข้าสู่เซลล์กล้ามเนื้อ ทำให้กล้ามเนื้อมดลูกคลายตัว
Prostaglandin synthetaseinhibittions
ข้อห้าม ผู้คลอดที่มีการทำงานของไตหรือตับผิดปกติ
ออกฤทธิ์ยับยั้งการสังเคราะห์และการทำงานของ prostaglandin
Beta – adrenergic drugs
beta1 receptor ท าให้หัวใจเต้นเร็ว
beta2 receptor ทำให้กล้ามเนื้อมดลูกคลายตัว หลอดลมขยาย ความดันโลหิตลดลง
Magnesuim sulphate
ข้อควรระวัง โรค myasthenia gravis
คลายกล้ามเนื้อเรียบ และกล้ามเนื้อลาย ทำให้มดลูกคลายตัว
การตั้งครรภ์แฝด (Multiple pregnancy)
การวินิจฉัย
คล าพบ small part มากผิดปกติ
ฟังเสียงหัวใจทารกพบมากกว่า 1 ตำแหน่ง
อัตราการเต้นต่างกัน
ประวัติการตั้งครรภ์แฝดในครอบครัว
ขนาดมดลูกโตกว่าอายุครรภ์,
ผลกระทบ
ทารก
ทารกพิการแต่กำเนิด เช่น ความผิดปกติหัวใจ
Neonatal tube defect ปากแหว่ง
ทารกน้ำหนักตัวน้อย
Twin –to- twin transfusion syndrome
Vascular communication between fetuses
มารดา
การคลอดผิดปกติ
น้ าคร่ำผิดปกติ มากกว่าปกติ
อาการแทรกซ้อนมากขึ้น เช่น เบาหวาน ความดันสูง
หลังคลอด เสี่ยงตกเลือดหลังคลอดมากขึ้น
สาเหตุส่งเสริม
มีประวัติเคยรักษาภาวการณ์มีบุตรยาก
อายุและจ านวนครั้งของการตั้งครรภ์
พันธุกรรม
แนวทางการรักษา
ป้องกันการคลอดก่อนกำหนด
ดูแลระยะตั้งครรภ์ลดอาการไม่สุขสบาย
ดูแลทารกให้สมบูรณ์เจริญเติบโตเพียงพอ
ประเภทครรภ์แฝด
แฝดต่างไข่ หรือ แฝดเทียม
ครรภ์แฝดจากไข่ใบเดียวหรือแฝดแท้
Postterm
ผลต่อมารดาทารก
คลอดยากจาก Macrosomia
Post maturity syndrome
เสี่ยงต่อการใช้สูติหัตถการ
เสี่ยงต่อการตกเลือดในระยะที่ 2 ของการคลอด
คลอดติดไหล่
ผลต่อทารก ขาดออกซิเจน น้ำคร่ำน้อย สำลักขี้เทา รกเสื่อม
การดูแลรักษา
การประเมิน Bishop score
เฝ้าระวังระยะก่อนเจ็บครรภ์
ทำให้การตั้งครรภ์สิ้นสุด
วินิจฉัย
ตรวจภายในพบกระดูกศีรษะแข็ง ไม่เกิด molding
น้ำหนักลดมากกว่า 1 กก./สัปดาห์ในช่วงท้ายของการตั้งครรภ์
เจาะน้ำคร่ำพบขี้เทาปน
ประวัติประจำเดือน อายุครรภ์
ระยะเจ็บครรภ์
ทารกเสี่ยงต่อคลอดติดไหล่
ทารกเสี่ยงต่อสำลักน้ำคร่ำ
ทารกเสี่ยงต่อขาดออกซิเจน รกเสื่อม และน้ำคร่ำน้อย
สาเหตุ
ปากมดลูกไม่ตอบสนองต่อพลอสตาแกรนดิน
อาจเกิดจากความผิดปกติของการสร้างพลอสตาแกรนดิน
ระยะหลังคลอด
ติดตามทารกหลังคลอดว่ามีภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
ภาวะสำลักน้ำคร่ำ
ประเมินสภาพทารก เพื่อยืนยันการเกินกำหนด
มารดาระวังภาวะตกเลือดหลังคลอดและติดเชื้อหลังคลอด