Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของการตั้งครรภ์ (Multiple pregnancy ครรภ์แฝด (แนวทางการรักษา…
ความผิดปกติของการตั้งครรภ์
Hyperemesis gravidarum
ภาวะอาเจียนอย่างรุนแรง
ความหมาย
-ภาวะที่สตรีมีครรภ์มีอาการอาเจียนอย่างมากติดต่อกันยาวนาน พบได้ตั้งแต่ตั้งครรภ์จนถึงตลอดการตั้งครรภ์
การแพ้ท้องปกติ
เริ่มมีอาการประมาณสัปดาห์ที่ 4-7 จะมีอาการรุนแรงมากเมื่ออายุครรภ์ 9-12 wks อาการจะหายไปเมื่ออายุครรภ์ 20 Wks
สาเหตุ
1.การเพิ่มขึ้นของ HCG
การตั้งครรภ์ที่มี HCG เพิ่มมากกว่าปกติ
เช่น การตั้งครรภ์แฝด , ไข่ปลาอุก
การขาดความสมดุลของการทำงานของต่อมไร้ท่อ
ผลจากฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน
สภาพทางจิตสังคม
ทารกมีความผิดปกติ
อาการ
-อาเจียนต่อเนื่องเป็นเวลานาน
น้ำหนักลด
ลมหายใจมีกลิ่มอะซิโตน
ตรวจพบคีโตนในปัสสาวะ
ระดับความรุนแรง 3 ระดับ
1.อาการไม่รุรแรงหรือรุนแรงน้อย
อาเจียนน้อยกว่า 5 ครั้ง/วัน
ไม่มีน้ำหรือไม่มีเศษอาหาร
น้ำหนักลดเล็กน้อย
ทำกิจวัตรประจำวันได้
อาการรุนแรงปานกลาง
อาเจียนมากกว่า 5-10 ครั้ง/วัน
อาเจียนติดต่อกัน 2-4 Wks
อ่อนเพลีย
น้ำหนักลด
มีภาวะเลือดเป็นกรด
อาการรุนแรงมาก
อาเจียนมากกว่า 10 ครั้ง/วัน
ไม่สามารถทำกิจวัตรได้
อาเจียนติดต่อกันเกิน 4 Wks
อ่อนเพลีย ซูบผอม น้ำหนักลดมาก
ขาดอาหารรุนแรง
แนวทางการรักษา
แก้ไขภาวะขาดน้ำ
ในรายที่ทานอาหารได้น้อย: ให้ทานอาหารอ่อนทานน้อยแต่บ่อยครั้ง
ให้ยาระงับอาเจียน: ยา prometthazine
ให้ยาคลายกังวล : Diazepam
ให้วิตามิน B6
ดูแลด้านจิตใจ
Multiple pregnancy
ครรภ์แฝด
ความหมาย
:เป็นการตั้งครรภ์ที่มีตัวอ่อนมสกกว่า 1 คนขึ้นไป
ประเภทครรภ์แฝด
ครรภ์แฝดจากไข่ใบเดียวหรือแฝดแท้ : ปฏิสนธิจากไข่ใบเดียว อสุจิตัวเดียว แบ่งตัวผิดปกติภายใน 14 วันหลังปฏิสนธิ
แฝดต่างไข่หรือแฝดเทียม : ปฏิสนธิจากไข่ 2 ใบ อสุจิ 2 ตัว มีรก 2 อัน
ครรภ์แฝดจากไข่ใบเดียวหรือแฝดแท้มี 4 ลักษณะ
1 ไข่ถูกผสมกับอสุจิภายใน 72 ชม แรก ก่อนมีการสร้าง inner cell mass และ outer layer ผลที่เกิดคือ พบ 2 embryos , 2 amnions, 2 chorion รกอาจมี 2 อันแยกหรือติดก็ได้
แบ่งตัวหลังไข่ถูกผสมกับอสุติภายใน 4-8 วัน ผลที่เกิดขึ้นคือ พบ embryos , 2 amnions, 1 chorion รกอยู่ติดกัน
ไข่ถูกผสมกับอสุจิฃายใน 9-12 วัน ผลที่เกิดขึ้นคือ 2 embryos , 1 amnions, 1 chorion 1 placenta เป็นครรภ์แฝดที่ทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่อทารกมากที่สุด
4.ไข่ผสมกับอสุจิภายหลัง 13 วัน มีการแบ่งตัวไม่สมบูรณ์มีผลทำให้ร่างกายติดกัน
สาเหตุส่งเสริมให้เกิดครรภ์แฝด
1 พันธุกรรม
2 มีประวัติเคยรักษาการมีบุตรยา
3 เชื้อชาติ
4 อายุและจำนวนครั้งของการตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อทารก
การคลอดผิดปกติ
น้ำคร่ำผิดปกติมากกว่าปกติ
คลอดก่อนกำหนด
ถุงน้ำแตกก่อนเจ็บครรภ์
การแท้ง
ทารกพิการแต่กำเนิด
น้ำหนักน้อย
เสียชีวิต
การพันปันของสายสะดือ
ผลกระทบต่อมารดา
โลหิตจาง
อาการไม่สุขสบายพบมาก
อาการแทรกซ้อนมากขึ้น
เสี่ยงตกเลือดหลังคลอดมากขึ้น
แนวทางการรักษา
ป้องกันการคลอดก่อนกำหนด
ดูแลทารกให้สมบูรณ์
ดูแลระยะตั้งครรภ์ลดอาการไม่สุขสบาย
การดูแลระยะคลอด
เฝ้าคลอดใกล้ชิด ตรวจสอบการเจ็บครรภ์ FHS
เตรียมพร้อมให้เลือด
เตรียมการให้สารน้ำ
คลอดก่อนกำหนด ดูแลให้ยาปฏิชีวนะ
เตรียมช่วยเหลือภาวะฉุกเฉิน
เตรียมพร้อมการช่วยฟื้นคืนชีพทารก
ป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
ความผิดปกติของน้ำคร่ำ
แบ่งเป็น 2 ชนิด
ภาวะน้ำคร่ำมาก/แฝดน้ำ
ปริมาณน้ำคร่ำ >2,000 ml
หรือ U/S - ค่าที่วัดแอ่งลึกที่สุดของน้ำคร่ำ (SDP) > 8 cm.
หรือ ค่า (AFI) > 24 cm
ภาวะน้ำคร่ำน้อย
ปริมาณน้ำคร่ำ < 500 ml
หรือ U/S - ( SDP) < 2 cm.
หรือ ค่า (AFI) < 5 cm.
ภาวะครรภ์แฝดน้ำ
1 Acute hydramnios ปริมาณน้ำคร่ำเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วภายใน 2-3 วัน
2 Chronic hydramnios ปริมาณน้ำค่อยๆเพิ่มขึ้น
สาเหตุ
ด้านมารดา
เป็นโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลไม้ได้
การตั้งครรภ์แฝด
ด้านทารก
มีความพิการของระบบประสาทส่วนกลาง
การอุดตันของทางเดินอาหาร
ทารกบวมน้ำ
อาการและอาการแสดง
1 มดลูกมีขนาดโตกว่าปกติ
2 ทารกมีส่วนนำผิดปกติ
3 คลำส่วนของทารกในครรภ์ยาก ฟัง FHS ไม่ชัด
4 ไม่สุขสบาย อึดแน่นท้อง
5 หายใจลำบาก นอนราบไม่ได้
6 ขาและอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกบวม
7 ปัสสาวะออกน้อย
ภาวะน้ำคร่ำน้อย
ความหมาย
ปริมาณน้ำคร่ำ < 500 ml
หรือ U/S - ค่า SDP < 2 cm
หรือ ค่า AFI < 5 cm
สาเหตุ
ด้านทารก
ทารกมีความพิการของระบบทางเดินปัสสาวะ ทำให้ปัสสาวะออกน้อย
มีความผิดปกติทางโครโมโซม
เจริญเติบโต้ช้าในครรภ์
ด้านมารดา
การแตกรั่วของถุงน้ำคร่ำเป็นระยะเวลานาน
การตั้งครรภ์เกินกำหนด
ภาวะแทรกซ้อนทางอายุรกรรม เช่น HT, DM
กาาใช้ยา เช่น indomethacin
อาการและอาการแสดง
1 ขนาดของมดลูกเล็กกว่าอายุครรภ์
2 ทารกเคลื่อนไหวน้อยกว่าปกติ
Posterm
ความหมาย
ตั้งครรภ์ตั้งแต่ 42 สัปดาห์ หรือมากว่า 294 วันเป็นต้นไป
สาเหตุ
ไม่ทราบแน่ชัด
อาจเกิดจากความผิดปกติของการสร้างพลอสตาแกรนดิน
ปากมดลูกไม่ตอบสนองต่อพลอสตาแกรนดิน
ควรระวังการคำนวนอายุครรภ์ผิดพลาด
วินิจฉัย
ประวัติประจำเดือน อายุครรภ์
อาการมดลูกเล็กลง คลำพบทารกชัดเจน
น้ำหนักลดมากกว่า 1 kg/wk
ทารกดิ้นน้อยลง
ตรวจภายในพบกระดูกศีรษะแข็ง ไม่เกิด Molding
เจาะน้ำคร่ำพบขี้เทาปน
U/S พบ น้ำคร่ำน้อย
ผลต่อมารดา
คลอดยาก
คลอดไหล่ติด
การเคลื่อนต่ำช้า
เสี่ยงต่อการตกเลือดในระยะที่ 2 ของการคลอด
ผลต่อทารก
ขาด O2 , น้ำคร่ำน้อย , สำลักขี้เทา , รกเสื่อม
post maturity syndrome
การดูแลรักษา
ทำให้การตั้งครรภ์สิ้นสุด
เฝ้าระวังระยะก่อนเจ็บครรภ์
ประเมินการตั้งครรภ์เกินกำหนดให้แม่นยำ
ติดตามสุขภาพทารกในครรภ์
นับการดิ้นของทารกมากกว่า 3-4 ครั้งหลังอาหารหรือ 12 ครั้ง/วัน
PV เพื่อชักนำการเจ็บครรภ์ Bishop score
ทารกตายในครรภ์
ความหมาย
ทารกตายในครรภ์ ตาม WHO การตายของทารกก่อนคลอดโดยไม่คำนึงถึงอายุครรภ์
แบ่งเป็น
Early fetal death ตายระหว่างอายุครรภ์ 12-20 wk
intermedate fetal death ตายระหว่าง 20-28 wk
Late fetal death ตายตั้งแต่ 28 สัปดาห์ขึ้นไป
สาเหตุ
ด้านแม่
โรคแทรกซ้อนร่วมกับการตั้งครรภ์ เช่น HT, DM , มีการติดเชื้อในกระแสเลือด
ตั้งครรภ์เกิดกำหนดทำให้รกเสื่อม
ด้านทารก
ทารกพิการแต่กำเนิด
เกิดการติดเชื้อไวรัส
เกิดการกดทับสายสะดือจากสายสะดือย้อย
ตั้งครรภ์แฝดเกิดภาวะ twin-twin transfusion syndrome
ด้านรก
มีรกเกาะต่ำ รกลอกตัวก่อนกำหนด
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
พบทารกไม่ดิ้น
น้ำหนักตัวมารดาคงที่หรือลดลง , เต้านาเหลว ยุบ
มดลูกไม่โตขึ้นในระยะเวลา 3 wk
ฟังไม่ได้ยินเสียงหัวใจเด็ก
คลำการเคลื่อนไหวของทารกไม่ได้
อาจคลำพบศีรษะน่วม กระโหลกยุบ
การตรวจพิเศษ
เจาะน้ำคร่ำผ่านหน้าท้อง พบ น้ำคร่ำสีน้ำตาลเข้มหรือขุ่นข้น
จำนวนน้ำคร่ำน้อยกว่าปกติ
U/S ไม่พบ fetal cardiac activity
การเจ็บครรภ์ก่อนกำหนด
ความหมาย
ภาวะเจ็บครรภ์คลอดที่เกิดขึ้นก่อนอายุครรภ์ 37 สัปดาห์โดยมีการหดรัดตัวของมดลูกอย่างสม่ำเสมออย่างน้อย 1 ครั้งทุก 10 นาทีโดยใช้เวลาอย่างน้อย 30 นาทีแต่ยังไม่มีการเปลี่ยนแปลงของปากมดลูก
ปัจจัยส่งเสริม
-ประวัติทางสูติกรรมและนรีเวชกรรม
-ประวัติ Spontaneous PTB ในครรภ์ก่อน, ประวัติการแท้งในไตรมาสที่สอง
-ประวัติการขูดมดลูก 2 2 ครั้ง
-ประวัติการช่วยเจริญพันธุ์
-น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์น้อย
-อายุแม่น้อยกว่า 18 ปีหรือมากกว่า 35 ปี
-Bleeding ในไตรมาสที่สองของการตั้งครรภ์
ปัจจัยเสี่ยงที่พบได้จากการคัดกรอง
-Anemia
-Periodontal disease (โรคปริทันต์)
-TVU: cervical length <25 mm. (<30 wk.)
-fetal fibronectin (fFN) positive (> 50 ng / mL)
ปัจจัยเสี่ยงที่พบได้จากอาการ
-Uterine Contractions
ปัจจัยเสี่ยงที่สามารถปรับแก้ไขได้
-ภาวะซีด (anemia)
ภาวะทุพโภชนาการ ขาดสารอาหาร
น้ำหนักตัวก่อนตั้งครรภ์น้อย
การสูบบุหรี่ การเสพสารเสพติด
การติดเชื้อ UTI,
ทำงานหนัก
โรคปริทันต์
ความเครียดสูงหรือเรื้อรัง
ขาดการฝากครรภ์
การวินิจฉัย
-การวินิจฉัยภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดตั้งแต่อายุครรภ์ 24 สัปดาห์ ถึงอายุครรภ์ก่อน 37 สัปดาห์ซึ่งมีอาการดังนี้
มดลูกหดรัดตัวสม่ำเสมอ 4 ครั้งใน 20 นาทีหรือ 8 ครั้งใน 60 นาทีร่วมกับการเปลี่ยนแปลงของปากมดลูกอย่างต่อเนื่อง
ปากมดลูกเปิดเท่ากับ 1 เซนติเมตรหรือมากกว่า 3. ปากมดลูกบางตัวลงเท่ากับร้อยละ 80 หรือมากกว่า
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
ความหมาย
-ทารกที่มีน้ำหนักต่ำกว่าน้ำหนักปกติเมื่อเทียบกับน้ำหนักทารก ณ อายุครรภ์นั้น หรือทารกในครรภ์ที่ประมาณน้ำหนักต่ำกว่าเปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 10 เมื่อเทียบกับอายุครรภ์นั้น
แบ่งออกเป็น 2 ชนิด
1 การเจริญเติบโตช้าแบบได้สัดส่วน
2 การเจริญเติบโตช้าแบบผิดสัดส่วน
สาเหตุ
สภาพแวดล้อม: อยู่ในภูมิประเทศที่สูง ทำให้ทารกในครรภ์มีภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรัง
ภาวะทุพโภชนาการ: มารดา BW < 45 kg. หรือน้ำหนักไม่เพิ่มระหว่างตั้งครรภ์
ได้รับรังสีทำลาย cell ในไตรมาสที่ 1 ซึ่งเป็นระยะที่ cell แบ่งตัวได้รวดเร็ว
ยาและสารเสพติด
ความผิดปกติของโครโมโซม
ทารกพิการแต่กำหนด: พิการระบบหัวใจและหลอดเลือด
การติดเชื้อของทารกในครรภ์
การรักษา
วินิจฉัยภาวะ IUGR ให้ได้ตั้งแต่แรกเริ่ม
ตรวจ U/S ทุก 2-3 week เพื่อดูการเจริญเติบโตและ NST สัปดาห์ละ 2 ครั้งจนกระทั่งพัฒนาการของปอดเต็มที่
รับไว้ในโรงพยาบาลเมื่อมีภาวะแทรกซ้อน
หากทารกอยู่ในภาวะเสี่ยงมาก พิจารณาให้คลอดโดยเร็วที่สุดและบาดเจ็บน้อยที่สุด โดยหลีกเลี่ยงการใช้ยาระงับปวดและควรเตรียมพร้อมในการดูแลทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อย
ผลต่อมารดา
เพิ่มอัตราการผ่าตัดคลอดเนื่องจากพบทารกมีภาวะ fetal distress ในอัตราค่อนข้างสูง
เพิ่มภาระในการเลี้ยงดูและส่งผลกระทบต่อจิตใจ
ผลต่อทารก
มีโอกาสเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ (hypoglycernia) ในระยะแรกเกิดได้ง่ายเพราะการสะสมไกลโคเจนในตับและไขมันใต้ผิดหนังน้อยกว่าปกติ
ภาวะแคลเซียมในเลือดต่ำ (hypocalcemia) ซึ่งเป็นผลมาจากภาวะ acidosis ในรายที่มี intrauterine asphyxi
ภาวะความเข้มข้นของเลือดสูง (polycythemia) จากการขาดออกซิเจนเรื้อรังขณะอยู่ในครรภ์ทารกจึงปรับตัวโดยการสร้างเม็ดเลือดแดงเพิ่มขึ้นซึ่งอาจทำให้เกิด thrombosis ตามมา
ภาวะตัวเหลือง (hyperbilirubinemia) จากการที่เม็ดเลือดแดงมีการแตกสลายเพิ่มขึ้น
เสี่ยงต่อภาวะ mecronium aspiration syndrome