Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตรวจทรวงอก และ ปอด (ขนาดและรูปร่างทรวงอก (ปกติ Anterior Posterior …
การตรวจทรวงอก และ ปอด
-
ขนาดและรูปร่างทรวงอก
ปกติ Anterior Posterior diameter (A.P diameter )
: Lateral diameter = 1:2 หรือ 5 : 7 และควรดู Chest wall ด้วย
-
Kyphosis กระดูกสันหลังคดเอียงไปด้านข้าง เกิดจากการยุบตัวของกระดูกสันหลัง วัณโรคหรือกระดูกผุในผู้สูงอายุ
Barrel shaped (อกถังเบียร์ )ภาวะที่ antero – posterior diameter กับ lateral diameter เป็น 1: 1พบในโรค COPD และหลอดลมอักเสบเรื้อรัง
-
Funnel chest หรือ อกบุ๋ม กระดูก sternumยุบเข้าไปคล้ายกรวย ทำให้ antero – posterior diameter แคบลง
พบในผู้ที่เป็นโรคกระดูกอ่อนในวัยเด็ก
-
-
-
ความผิดปกติของการหายใจ
-
-
การหายใจลึก (Hyperpnea)
สาเหตุเกิดจากการออกกำลังกายมาก ความเจ็บปวด อารมณ์ รุนแรง ความเครียดจากภาวะทางจิตใจ เรียกว่า Hyperventilation syndrome
การหายใจตื้นและหยุด (Cheyne–Stroke respiration) คือ การหายใจที่เริ่มด้วยการหายใจตื้นๆ ก่อนแล้วลึกขึ้นๆ จนลึกเต็มที่แล้วหายใจตื้นลงๆ เกิดจากความผิดปกติของศูนย์การหายใจ พบได้ในผู้ที่เป็นโรคเส้นเลือดในสมองแตก ตีบ หรือตัน ภาวะหัวใจวาย
การหายใจลึกและถอนหายใจอย่างสม่ำเสมอ (Kussmaul respiration) การกระตุ้นศูนย์หายใจซึ่งเป็นผลทำให้หายใจลึกและอัตราการหายใจเพิ่มขึ้น ลมหายใจมีกลิ่นผลไม้หรือกลิ่นคล้ายสารอะซิโตน
การหายใจใกล้สิ้นใจ (Air hunger) คือการหายใจช้าๆ และลึก
ขณะที่หายใจเข้าศีรษะและหน้าอกจะเงยขึ้น ตาเหลือกขึ้นข้างบน หน้าบิดเบี้ยว ริมฝีปาก เล็บมือ เล็บเท้าเขียว เป็นต้น การหายใจแบบนี้เกิดจากเส้นเลือดที่ไปเลี้ยงสมองขาดออกซิเจน
การตรวจทรวงอกและปอด
Intercostal
เปรียบเทียบความกว้าง-ตึง ของช่องซี่โครงโดยใช้นิ้วกลางคลำในช่องซี่โครงตั้งแต่ช่องที่ 1 ไล่ลงไปถึงช่องที่ 9
การแปลผล
แคบ แสดงถึงว่าปอดมีขนาดเล็กพบใน Atelectasis, Fibrosis
กว้าง แสดงถึงว่าบริเวณนั้น มีสารเหลว ลม เลือด ที่เยื่อหุ้มปอดเช่น Empyema, pleural effusion, Peneumothrax
การคลำ
คลำหลอดลม
ให้ผู้ป่วยอยู่ท่านั่งหรือนอนหันหน้าผู้ป่วยให้ตรง ผู้ตรวจใช้ปลายนิ้วชี้แยงไปบน suprasternal notch ทีละข้าง โดยยันนิ้วที่ตรวจไปทางด้านหลังเบาๆ ถ้าหลอดลมอยู่ตรงปลายนิ้วจะคลำได้เนื้อเยื่อนุ่มๆทั้งสองข้าง
-
-
-
การเคาะ
Flatness เทียบได้กับเสียงที่เกิดจากการเคาะกล้ามเนื้อต้นขาเป็นเสียงทึบ ให้นึกถึงน้ำในช่องปอดและเยื่อหุ้มปอด
-
-
-
-
การเคาะทรวงอก
-
เคาะทรวงอกด้านหน้า ทำโดยให้ผู้รับบริการนอน เริ่มเคาะที่บริเวณเหนือกระดูกไหปลาร้าและเคาะใต้กระดูกไหปลาร้าเปรียบเทียบซ้ายขวา
เคาะทรวงอกด้านข้างในแนว anterior axillary line จากช่องซี่โครงที่ 4 ถึง 8 ภาวะปกติ จะได้ยินเสียง resonance ทั่วปอด การเคาะด้านหลังจะได้ยินเสียง resonance ทั่วทั้งปอด
การฟัง
Auditory fremitusคล้ายกับการตรวจ Tacile fremitus ต่างกันตรงใช้ Stethoscope รับฟังการสั่นสะเทือนแทนฝ่ามือ การแปลผลเหมือนกัน
Breath sound
ก่อนตรวจ แนะนำผู้ป่วยให้ร่วมมือกับการตรวจให้ดี เช่น มิให้พูดคุยหรือทำเสียงขณะตรวจ หายใจเข้า-ออก แรงกว่าปกติ
ผู้ตรวจเอง ต้องไม่แนบหูฟังสนิทกับผิวหนังเกินไป และควรหลีกเลี่ยงมิให้มีเสื้อผ้ากั้นระหว่างผิวหนังกับเครื่องฟัง เพราะเสียงจะถูกรบกวน แปลผลผลิตพลาดได้
-
-