Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาและทารกในระยะที่ 1 ของการคลอด (4.การพยาบาลในระยะที่ 1…
การพยาบาลมารดาและทารกในระยะที่ 1 ของการคลอด
1.การใช้กระบวนการพยาบาลใน การพยาบาลผู้คลอดในระยะที่ 1 ของการคลอด
ในระยะคลอดแบ่งการดูแลออก
เป็น 2 ช่วงหลัก
แรกรับ : ต้องประเมินหญิงตั้งครรภ์เพื่อ วินิจฉัยการเข้าสู้ระยะคลอดและภาวะ แทรกซ้อน
รอคลอด
2.การประเมินภาวะสุขภาพของผู้คลอดและทารกในครรภ์
2.3 อาการเจ็บครรภ์เตือนและเจ็บครรภ์จริง
เพื่อเป็นข้อมูลเบื้องต้นในการวินิจฉัย การเข้าสู้ระยะคลอด
2.1ข้อมูลส่วนบุคล
อาชีพ
เชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา
อายุ
สถานภาพสมรส
ชื่อ-สกุล
ระดับการศึกษา
เศรษฐานะ
2.4 ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
เช่น โรคเรื้อรัง การแพ้ยา แพ้อาหาร เป็นต้น
2.5 ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน
การเจ็บป่วยด้วยโรคหรือความผิดปกติอื่นๆที่เกิดขึ้นร่วมกับการตั้งครรภ์และยังคงเป็นอยู่
2.6 ประวัติตั้งครรภ์และการคลอดในอดีต
ข้อมูลการตั้งครรภ์ แท้งและการคลอด ตั้งแต่ครั้งแรกจนถึงปัจจุบัน
2.7 ประวัติการตั้งครรภ์
ประวัติตั้งแต่เริ่มต้นการตั้งครรภ์ จนถึงปัจจุบัน
2.8 อายุครรภ์ (GA) กำหนดคลอด(EDC)
ยืนยันอายุครรภ์และ กำหนดวันคลอด
ทบทวน LMP
ทบทวนผลการตรวจอายุครรภ์
2.9 ข้อมูลทางด้านจิตสังคม
การปรับตัวและการเผชิญ ความเครียด
ประเมินประสบการณ์คลอด
การรับรู้และความคาดหวัง
ความต้องการบุตร
2.2 อาการสำคัญหรืออาการนำของการคลอด
มีมูกเลือด/น้ำออกทางช่องคลอด
ลูกไม่ดิ้น 1 วัน
ชักเกร็งหมดสติ
2.10 การตรวจร่างกาย
ความสูง น้ำหนัก
รูปร่างและโครงสร้าง ของร่างกาย
ลักษณะทั่วไป
2.11 การตรวจสัญญาณชีพ
ควรตรวจหลังจากที่มดลูกคลาย ตัวอย่างน้อย 30 วินาที
2.16 การตรวจทาง ห้องปฏิบัติการ
Lab ANC 2 ครั้ง
ตรวจปัสสาวะ
ตรวจหมู่เลือด
Hct.
2.15 การตวจอวัยวะ สืบพันธ์ภายนอก
เพื่อประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
ประเมินปัจจัยเสี่ยงและความผิดปกติอื่นๆ
2.14 การปรพเมินภาวะ สุขภาพทารกในครรภ์
ตั้งแต่แรกรับและต่อเนื่องจนคลอด
FHR ปกติ 110-160 ครั้งต่อนาที ในระยะคลอด
ประเมินปัจจัยเสี่ยงที่ส่งปลต่อภาวะ สุขภาพของทารกในครรภ์
2.13 การตรวจการหดรัดตัว ของมดลูก
เพื่อประเมินการทำงาน ของกล้ามเนื้อมดลูก
ตรวจความนาน ความแรง ความถี่ ความห่างของการหดรัดตัวของมดลูก
การสัมผัสด้วยมือ
2.12 การตรวจครรภ์
การดู
ขนาดและการดิ้นของทารก
รอยแผลเป็น ร่องรอยของโรค
รูปร่างมดลูดขณะมีการหดรัดตัว
การคลำ
ตรวจเมื่อมดลูกไม่หดรัดตัว
วัดความสูงยอดมดลูก
ท่าของท่ารกและส่วนนำ
การเคลื่อต่ำของส่วนนำ
การฟัง
สามารถฟังได้ด้วยหูฟัง
ประเมินการมีชีวิตอยู่ของทารก
เครื่องฟังเสียงหัวใจทารกภายนอก(doptone)
3.การวินิจฉัยการพยาบาล
ต้องประกอบด้วยอย่างน้อย 2 ส่วน
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
สาเหตุ
แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม
ข้อวินิจฉัยที่แสดงถึงปัญหา
ข้อวินิจฉัยที่แสดงถึงการมีภาวะเสี่ยง
ข้อวินิจฉัยที่แสดงถึงภาวะสุขภาพดี
4.การพยาบาลในระยะที่ 1 ของการคลอด
4.1 การพยาบาลในระยะรับใหม่
รวบรวมข้อมูล
กรณีเจ็บครรภ์เตือน แนะนำให้ญิงตั้งครรภ์กลับไป พักผ่อนที่บ้าน และสังเกตอาการตัวเอง
กระณีผู้คลอดเข้าสู้ระยะที่ 1 ของการคลอดจริง ต้องรับผู้คลอด เข้าไว้ดูแลในโรงพยาบาล
4.2 การเตรียมบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์
แจ้งผู้คลอดและเตรียมอุปกรณ์
จัดสถานที่ จัดท่า
ฟอกปริเวรที่ต้องการโกนขนและโกนขน
เช็ดทำความสะอาดบริเวณผิวหนัง
เก็บเครื่องมือและทำความสะอาด
4.3 การสวนอุจจาระ
ข้อห้าม
ครรภ์แรกปากมดลูดเปิด > 7 cm. และ
ครรภ์หลังปากมดลูกเปิด >5 cm.
มีน้ำเดิน
มีเลือดออกทางช่องคลอด
วิธีการสวนอุจจาระ
จัดท่ากอดหมอนข้าง (Sim's position)
ใส่ถุงมือ สอดหัวสวน unison เข้าไปใน รูทวารหนักช้าๆ
บีบลูกสวนให้น้ำไหลเข้าไป รีบถอดหัว สวนออกและให้ขมิบไว้
ให้หญิงตั้งครรภ์เข้าห้องน้ำ
4.4 การป้องการติดเชื้อ
ยึดหลักการป้องกันการติดเชื้อ
ไม่รีบเจาะถุงน้ำ หากถุงน้ำแตก
ให้รีบคลอดภายใน 24 ชม.
ไม่ตรวจภายในบ่อยเกิน
ประเมินสัญญาณชีพ
4.5 การประเมินความก้าวหน้า ของการคลอด
ประเมินความบางและการเปิดของปากมดลูก
ระยะปากมดลูกเปิดช้า ทุก 4 ชม.
ระยะปากมดลูกเปิดเร็ว ทุก 1-2 ชม.
บันการใช้กราฟ
4.6 การเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน
ประเมินการหด รัดตัวของมดลูก
ประเมินสัญญาณชีพ
ฟังเสียงหัวใจทารก
การดิ้นของทารก
4.7 ความต้องการได้รับออกซิเจน
สัญญษณชีพผิดปกติ
ภาวะซีด
การหดรัดตัวมดลูกที่รุนแรง
4.18 การพยาบาลในช่วงปลายระนะที่ 1 ของการคลอด
ยอมรับพฤติกรรมแสดงออกของผู้คลอด
ช่วยบรรเทาอาการปวด
สอนการหายใจหยุดเบ่ง
เตรียมผู้คลอด
4.17 การหายใจเพื่อบรรเทาความเจ็บ ปวดในระยะคลอด
วิธีที่ 1 หายใจล้างปอด
วิธีที่ 2 การหายใจแบบช้า
วิธีที่ 3 การหายใจแบบตื้นเร็วและเบา
วิธีที่ 4 การหายใจแบบตื้นเร็วและเป่าออก
วิธีที่ 5 การหายใจเพื่อเบ่งคลอด
4.16 การบรรเทาความเจ็บปวดจาก การคลอดโดยไม่ใช้ยา
การเพ่งจุดสนใจ การเบี่ยงเบนความสนใจ
เทคนิคการผ่อนคลาย
การกระตุ้นผิวหนัง การสัมผัส
4.15 การให้ความรู้และข้อมูลตามความ ต้องการของผู้คลอดและครอบครัว
ประเมินความวิตกกังวล ความต้องการข้อมูล
ให้ข้อมูลในระยะปาดมดลูกเปิดช้า
4.14 การพยาบาลด้านจิตสังคม
ลดความวิตกกังวลและความกลัว
แสดงท่าทีเป็นกันเอง
เปิดโอกาสให้ซักถาม
เตรียมผู้คลอดให้มีความพร้อม
4.13 การขับถ่ายปัสสาวะ
ให้ผู้คลอดปัสสาวะทุก 2-3 ชม.
ดูแลความสะอาดของอวัยวะสืบพันธุ์
ประเมินปัญหาการขับถ่ายปัสสาวะ
4.12 อาหารและน้ำ
งดน้ำงดอาหาร
ให้สารน้ำทดแทน
สังเกตอาการขาดน้ำ
4.11 การดูแลความสะอาดร่างกาย
เปลี่ยนเสื้อผ้าแห้งและสะอาด
แนะนำให้ใส่ผ้าอนามัย
4.10 ความสุขสบายทั่วไป
จัดสิ่งแวดล้อม
เช็ดหน้าตาด้วยผ้าเย็น
อมน้ำแข็งก้อนหรือบ้สนปากบ่อยๆ
ทากลีเซอรีนที่ริมฝีปากเพื่อ ลดอาการปากแห้ง
4.9 การพักผ่อนและการนอนหลับ
ระยะปากมด
ลูกเปิดช้า
ทำกิจวัตรประจำวัน
ได้ตามปกติ
ระยะปากมดลูก เปิดเร็ว
ให้ผู้คลอดพัผ่อน ดูแล ความสุขสบาย
4.8 ท่าทางระหว่างรอคลอด
เปลรายนอิริยาบถบ่อยๆ
อยู่ในท่าศีรษะสูง
หลีกเลี่ยงการนอนหงาย
นอนพักผ่อนบนเตียง