Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีภาวะช็อค (ชนิดของช็อค (4.Obstructive shock (การอุดตันของ…
การพยาบาลเด็กที่มีภาวะช็อค
ช็อค
เป็นภาวะฉุกเฉิน จากระบบไหลเวียนเลือด ขนส่งอาหารและ O2 ไม่เพียงพอ
อาการระยะแรก ร่างกายจะพยายามปรับตัวให้แรงดันเลือดปกติ
Heart rate เร็ว เป็นการปรับตัวอันดับแรก
ซึมหรือก้าวร้าว
หลอดเลือดส่วนปลายหดตัว
เนื้อเยื่อจะ metabolism โดยไม่ใช้ O2
ทำให้เกิด lactic acid คลั่ง (metabolic acidosis)
อวัยวะต่างๆเสียหน้าที่ เกิดอวัยวะล้มเหลว
เกิดลิ่มเลือดในกระแสโลหิต
ระยะ / อาการของช็อค
1.ระยะชดเชย (ความดันเลือดยังปกติ)
ชีพจรเต้นเร็ว
หลอดเลือดส่วนปลายหดตัว
ร่างกายพยายามปรับตัว ไม่ให้ความดันเลือดต่ำลง เพื่อให้เลือดไปเลี้ยงร่างกายได้
2.ชดเชยไม่ได้ (ความดันเลือดต่ำลง)
เนื้อเยื่อได้รับเลือดไม่เพียงพอต่อความต้องการ
อวัยวะเริ่มเสียหน้าที่
ยังกลับคืนได้ ถ้าช่วยเหลือทัน
3.ช็อคยาวนาน (แก้ไขไม่ได้ อวัยวะไม่คืนกลับมาทำงานได้)
ชนิดของช็อค
1.Hypovolemic shock (ร่างกายเสียน้ำ / เสียเลือด / เสียพลาสมา)
Non-hemorrhagic
การเสียน้ำปริมาณมาก
อาเจียน ท้องเสีย
มีการรั่วของน้ำออกมานอกหลอดเลือด เช่น burn ไข้เลือดออก
ปัสสาวะมาก
Hemorrhagic
บาดเจ็บ trauma
เลือดออกผิดปกติ
2.Distributive shock การกระจายตัวของเลือดและสารน้ำในร่างกายผิดปกติ
Septic shock (การติดเชื้อ)
หลอดเลือดเสียความตึงตัว
สารน้ำผ่านเข้าหลอดเลือดฝอยเพิ่มมากขึ้น
Anaphylactic shock (ร่างกายหลั่ง histamine ตอบสนองต่อสิ่งแปลกปลอม)
เช่น แพ้ยา แพ้อาหาร พิษจากแมลง
Neurogenic shock
เช่น high spinal cord injury
3.Cardiogenic shock (การบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจลดลง)
กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ myocarditis
Heart failure รุนแรง
หัวใจเต้นเร็ว หรือ ช้า ผิดปกติ
4.Obstructive shock
การมีของเหลวในช่องเยื่อหุ้มหัวใจ
ลมรั่วในช่องเยื่อหุ้มปอด ทำให้กดเบียดหัวใจและหลอดเลือด
การตีบแคบของหลอดเลือดที่ออกจากหัวใจ ลิ้นหัวใจ : Aorta , ลิ้นหัวใจ ตีบ
การอุดตันของ Pulmonary artery
จาก blood clot , ไขมัน
Cardiac output ลดลง
อาการเจ็บหน้าอก หายใจลำบาก เหนื่อย เส้นเลือดดำที่คอโป่ง ตับโต
การปรับตัวเมื่อร่างกายเข้าสู่ภาวะช็อค เพื่อเพิ่ม Cardiac output
1.กระตุ้น Sympathetic nervous system
Pulse เร็ว (tachycardia)
หัวใจบีบแรง
2.กระตุ้น Renin-Angiotensin-Aldosterone system
หลอดเลือดหดตัวอย่างมาก เพิ่มแรงต้านทานส่วนปลาย ปลายมือปลายเท้าเย็น ในทารก/เด็กเล็ก จะเกิดตัวลาย (mottling’
กระตุ้นศูนย์กระหายน้ำ thirst center ทำให้กระหายน้ำมาก ริมฝีปากแห้ง
ผู้ป่วยมักบ่นหิวน้ำ ระวังเรื่องช็อค
ภาวะแทรกซ้อนจาก BP drop นาน
1.หายใจล้มเหลว จากการที่เนื้อเยื่อพร่อง O2 รุนแรง ความยืดหยุ่นปอดลดลง พบใน septic shock หลอดเลือดฝอยในปอดมีน้ำและโปรตีนรั่วเข้่าถุงลมปอด
2.ไตวายเฉียบพลัน acute renal failure เลือดไปเลี้ยงไตน้อยลง ไตขาดเลือด
3.Disseminated intravascular coagulation พบใน septic shock เกิดลิ่มเลือดเล็กๆในระบบไหลเลือดเลือด เกร็ดเลือดต่ำ ปัจจัยการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
ตรวจพบจุดเลือดออก
หลังเจาะเลือดยังมีเลือดออกซึม
4.ภาวะล้มเหลวของหลายระบบ อัตราการเสียชีวิตสูง 40-100%