Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการประเมินภาวะสุขภาพ ระบบประสาท :silhouette: (การตรวจ cranial nerves …
หลักการประเมินภาวะสุขภาพ
ระบบประสาท
:silhouette:
การประเมินระดับความรู้สึกตัว
:no_entry:
ความตื่นตัว
= ทดสอบได้โดยการดูความรวดเร็ว ความถูกต้องของการตอบสนอง และระดับการกระตุ้น
ความสำนึกรู้
ทดสอบโดยการซักถาม บุคคล เวลา สถานที่
การคิด
ทดสอบการ
ตัดสินใจ การคิดเลข และความจำ
ระดับความรู้สึกตัว
:recycle:
Alert
= มีระดับความรู้สึกตัวดี
งุนงง
(Clouding of Consciousness) มีระดับความรู้สึกตัวดี แต่ความสำนึกรู้ผิด ปกติเล็กน้อย
คลั่งเสียสติ
(Delirium) ระดับความรู้สึกตัวดี แต่สูญเสียการควบคุมความคิด และอารมณ์ได้
ง่วงซึม
(Drowsiness) ระดับความรู้สึกตัวต่ำกว่าปกติ มักจะหลับ แต่ปลุกตื่น
ซึมมาก
(Stuporous) ระดับความรู้สึกตัวต่ำกว่าปกติมากต้อง ปลุกแรงๆ จึงตื่น ต้อง กระตุ้นอยู่เสมอ
หมดสติอย่างอ่อน
(Semicoma) กระตุ้นอย่างแรงก็อาจลืมตา ไม่เคลื่อนไหวเอง
ตอบสนองความเจ็บปวดแบบง่ายๆ
หมดสติอย่างสิ้นเชิง
(Coma) ไม่ตอบสนองต่อการกระตุ้นเลย
งุนงง สับสน
(Confusional State) ระดับความรู้สึกตัวดี แต่เสียการสำนึกรู้ต่อตนเอง ขาดสมาธิ
การประเมินระดับความรู้สึกตัว โดยใช้ Glasgow Coma Scale
:red_cross:
–E = eye opening
(ประเมินการลืมตา)
• E1 = ไม่ลืมตาเลย
• E2 = ลืมตาเมื่อเจ็บ
• E3 = ลืมตาเมื่อเรียก
• E4 = ลืมตาเอง
• Ec = ตาบวมปิด (closed, contusion)
–M = motor response
(ประเมินการเคลื่อนไหวตามคำสั่ง)
สำคัญที่สุด
• M1 = ไม่ขยับเลย
• M2 = Decerebration
• M3 = Decortication
• M4 = response to pain (ขยับเมื่อเจ็บ)
• M5 = localized to pain (เอามือปัดตำแหน่งเจ็บได้)
• M6 = obey to command (ทำตามคำสั่งได้)
–V = verbal response
(ประเมินความสามารถในการสื่อสาร)
• V1 = ไม่ออกเสียง
• V2 = ออกเสียงไม่เป็นภาษาไม่มีความหมาย
• V3 = ออกเสียงเป็นภาษาเป็นคำๆมีความหมาย
• V4 = ออกเสียงเป็นประโยคแต่สับสน
• V5 = พูดคุยได้ตามปกติ
สังเกต
:silhouettes:
ท่าเดิน
• ท่าเดินที่ผิดปกติ เช่น เดินขาถ่าง เดินเซ
• อาการปวดบริเวณต่างๆ เช่น ข้อติด กล้ามเนื้อหดรั้ง และการที่ขายาวไม่เท่ากัน
• เดินเกร็ง เท้าของผู้ป่วยทั้ง 2 ข้างจะแยกจากกันมากกว่าปกติเพื่อป้องกันการล้ม
• เดินขาถ่าง มีความผิดปกติของการรับรู้อากัปกิริยา หรือสมองน้อย
• เดินเท้าตก มีการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อ tibialis anterior จากการที่รากประสาทระดับ L4 ถูกกดทับ
• ท่าทาง
(Posture) สังเกตว่าส่วนของร่างกายด้านขวาและขวา สมมาตรกัน หรือไม่
• ผิวหนัง
สังเกตสีผิวที่เปลี่ยนแปลง รอยพับ รอยแผลผ่าตัด แผลเป็น
การอักเสบ
• ส่วนโค้งกระดูกสันหลัง ซึ่งมี 3 ส่วน
• แนวกระดูกสันหลัง ถ้าแนวกระดูกสันหลังผิดปกติ อาจเกิดจากกระดูกสันหลังคด
การคลำ
:checkered_flag:
• คลำหาตำแหน่งจุดกำหนดกายวิภาคต่างๆ
แนว spinous process โดยเฉพาะ C7, T1
• คลำหาจุดกดเจ็บ
• คลำว่ามีต่อมน้ำเหลืองหรือก้อนผิดปกติหรือไม่
• คลำว่ามีกระดูกสันหลังเลื่อนหรือคดหรือไม่
ถ้ามีการเลื่อนของกระดูกสันหลัง
จะคลำ spinous process ได้ต่างระดับกันเรียกว่า step-off
การเคาะ และการฟัง
:fire:
• เคาะตามแนวกระดูกสันหลังว่ามีอาการเจ็บที่ตำแหน่งใดหรือไม่
• ฟังว่ามีเสียงลั่นผิดปกติหรือไม่ ขณะที่ผู้ป่วยก้ม เงย เอียงซ้ายขวา
การตรวจ cranial nerves
:<3:
• Olfactory nerve
ให้ผู้ป่วยหลับตาแล้วดมกลิ่นต่างๆ
• Optic nerve
ตรวจ visual field, visual acuity
• Oculomotor, Trochlear, Abducen nerve
ตรวจ direct light
reflex,consensual light reflex, reaction to convergence
• Trigeminal nerve
ให้ผู้ป่วยกัดฟันแล้วแตะที่ขมับและแก้ม เพื่อดูกำลังของกล้ามเนื้อtemporalis, masseter
• Facial nerve
ให้ผู้ป่วยมองดูเพดานหรือยกคิ้วเพื่อดูรอยย่น ของหน้าผาก
Vestibulo Cochlear nerve
ใช้นิ้วปิดหูข้างหนึ่งของผู้ป่วย กระซิบที่หูอีกข้างและให้ผู้ป่วยพูดตามที่ได้ยิน
Glossopharyngeal, vagus nerve
ให้ผู้ป่วยอ้าปากร้องอา แล้วดูลิ้นไก่ว่าเอียงไปข้างใดข้างหนึ่งหรือไม่
Accessory nerve
ให้ผู้ป่วยหันหน้าไปด้านตรงข้าม
ผู้ตรวจพยายามดันคางกลับมา โดยให้ผู้ป่วยต้านไว้
Hypoglossal nerve
ให้ผู้ป่วยแลบลิ้น ดูว่ามี atrophy หรือ fasciculationหรือไม่
การตรวจระบบประสาท
:pencil2:
• พยาธิสภาพที่ทำให้ผู้ป่วยที่สูญเสียกำลัง
กล้ามเนื้อและการรับรู้ ความรู้สึกอาจเกิดขึ้นที่สมอง ไขสันหลัง ราประสาท ข่ายประสาท และเส้นประสาทส่วนปลาย
การตรวจกำลังกล้ามเนื้อและการรับ
ความรู้สึก
:fountain_pen:
• ตรวจตามการเลี้ยงของเส้นประสาทส่วนปลาย เช่น เส้นประสาทmedian, radial, ulnar, tibial, และ peroneal
เป็นต้น ผู้ตรวจต้องทราบว่า เส้นประสาทเหล่านี้มีแขนงไปเลี้ยงกล้ามเนื้อมัดใดบ้าง และรับความรู้สึกจากผิวหนังส่วนใด
การตรวจกล้ามเนื้อ
:pen:
• ตรวจขนาด ความตึง (tone) และกำลัง กล้ามเนื้อเพื่อหาตำแหน่งพยาธิสภาพที่ทำให้กล้ามเนื้อ อ่อนแรงว่าอยู่ตำแหน่งใด (สมอง ไขสันหลัง รากประสาท ข่ายประสาท เส้นประสาทส่วนปลาย และกล้ามเนื้อ)
การตรวจการรับความรู้สึก
:red_flag:
• การรับความรู้สึกเจ็บปวด
ตรวจโดยใช้วัตถุปลายแหลม เช่นเข็มหรือไม้จิ้มฟันจิ้มเบาๆ ที่ผิวหนังตาม dermatome ที่ต้องการตรวจ
• การรับรู้สัมผัส
ตรวจโดยใช้สำลี สัมผัส บริเวณที่ต้องการตรวจ
• การรับรู้อุณหภูมิ
ตรวจโดยใช้น้ำแข็งหรือสาลีชุบ
แอลกอฮอล์วางในตำแหน่งที่ต้องการตรวจ
• การรับรู้ตำแหน่งข้อ
ตรวจโดยขยับข้อนิ้วมือหรือนิ้วเท้าขึ้นและลงสลับกัน แล้วถามผู้ป่วยเพื่อทดสอบว่าตอบได้ถูกต้องหรือไม่
• การรับรู้การสั่นสะเทือน
ตรวจโดยใช้ tuning fork เคาะแล้ววางที่ผิวหนัง
การตรวจรีเฟล็กซ์
:check:
• Deep tendon reflex
Biceps Reflex
Triceps reflex
Knee jerk
Ankle jerk
Superficial reflexes
• Superficial abdominal reflex (T8-T12)
• Superficial cremasteric reflex (L1-L2)
• Superficial anal wink reflex
• Bulbocavernosus reflex
รีเฟล็กซ์พยาธิสภาพ
(Pathologic reflexes)
:star:
การแปลผล
ถ้าการตรวจให้ผลบวกแสดงว่ามีพยาธิสภาพของ สมองหรือไขสันหลัง โดยเฉพาะถ้าพบร่วมกับ deep tendon reflex ไวกว่าปกติ
• Babinski’s reflex
• Clonus
นางสาวดรุณี ชื่นชุ่ม
เลขที่42 ห้องA