Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดและเทคนิคในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณในการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนร…
แนวคิดและเทคนิคในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณในการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
:red_flag:สถิติในรูปแบบต่าง ๆ
สถิติอนุมาน
(Inferential Statistics)
ใช้ในการอ้างอิงค่าสถิติต่าง ๆ
ความถูกต้องจะขึ้นอยู่กับคุณภาพของการสุ่ม
สถิติเชิงพรรณา
(Descriptive Statistics)
มัธยฐาน (Median)
ฐานนิยม (Mode)
ค่าเฉลี่ย (Mean)
สถิติบรรยาย
(Descriptive Statistics)
ใช้ในการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลและแปลความหมายข้อมูลที่ได้รวบรวม
:red_flag:ข้อพิจารณาในการเลือกใช้สถิติ
ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ข้อมูลเป็นกลุ่มตัวอย่างหรือประชากร
มาตรวัดตัวแปร
มาตรอันดับ
ตัวเลขที่บอกว่าใครเก่งกว่าใคร หรือดีกว่า
ตัวอย่าง : เหรียญทอง เหรียญเงิน
มาตรอันตรภาค
ตัวเลขไม่มีศูนย์แท้
ตัวอย่าง : คะแนนสอบ 0, อุณหภูมิ 0
นามบัญญัติ
กำหนดตัวเลขขึ้นมาแทนคำนาม
ตัวอย่าง : เพศ ระดับการศึกษา
มาตรอัตราส่วน
ตัวเลขมีศูนย์แท้
ตัวอย่าง : ส่วนสูง น้ำหนัก อายุ ระยะทาง
ตัวแปรที่ศึกษา
จำนวนตัวแปร
ลักษณะตัวแปร
ข้อตกลงเบื้องต้ัน
ของสถิติที่ใช้
จุดมุ่งหมาย
ของการวิจัย
เพื่อเปรียบเทียบ....
เพื่ออธิบายเชิงเหตุผลของตัวแปร
เพื่อบรรยาย....
:red_flag:ความคลาดเคลื่อนจากการ
ใช้สถิติวิเคราะห์ข้อมูล
ฝ่าฝืนข้อตกลงเบื้องต้นของสถิติที่ใช้
ผู้วิจัยคำนวณผิด
เลือกใช้สถิติไม่เหมาะสม
จงใจให้คลาดเคลื่อน
ข้อมูลบกพร่อง
ตอบไม่ครบถ้วน
กลุ่มตัวอย่างไม่ครบถ้วน
:red_flag:สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล
กรณีมีการสุ่มตัวอย่าง
ใช้ห้องเรียนห้องเดียว ทดสอบ
ก่อนหลัง : Paired-sample t-test
ใช้ห้องเรีนยสองห้อง ห้องหนึ่งเป็นกลุ่มทดลอง
อีกห้องหนึ่งเป็นกลุ่มควบคุม : Independent-sample t-test
ใช้ห้องเรียนห้องเดียว ทดสอบเทียบ
กับเกณฑ์ : One-sample t-test
กรณีไม่มีการสุ่มตัวอย่าง
ใช้คะแนนพัฒนาการ
วัดพฤติกรรมผู้เรียน 2 ครั้งขึ้นไป
ค่าตัวเลขจากการเปรียบเทียบ
สูตรการคำนวณ :
คะแนนพัฒนาการ = คะแนนหลังเรียน - คะแนนก่อนเรียน