Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตรวจทรวงอกและปอด (Thorax and lung) (การฟัง (เสียงผิดปกติ(adventitio…
การตรวจทรวงอกและปอด
(Thorax and lung)
การดู
สิ่งที่ต้องดู
ความสัมพนัธ์ของโรค
โรคตับแข็ง : ตรวจพบ Spider nevi, Hyperpigmentation
โรคผิวหนัง : แข็ง (Scleroderma)
การเคลื่อนไหว
ลักษณะการหายใจ : สังเกตจังหวะ (Rhythm) ความลึกตื้นของการ หายใจ อวัยวะที่ใช้ช่วยในการหายใจ
ในคนปกติ : จังหวะการหายใจจะสม่ำเสมออัตราการหายใจในผู้ใหญ่ปกติจะมีการหายใจประมาณ 12–20 คร้ังต่อนาที
ขนาด
ปอดเล็ก : หรือปอดแฟบ พบในปอดข้างนั้นแฟบ หรือ เป็นพังผืด หรือถูกตัดออก
ปอดพองโต : พบในปอดข้างนั้นนมีสารเหลว ลมในช่อง เยื่อหุ้มปอด
รูปร่าง
Funnel chest หรือ อกบุ๋ม กระดูก sternumยุบเข้าไปคล้าย กรวย ทำให้ ้antero– posterior diameter แคบลง พบในผุ้ที่เป็นโรคกระดูก อ่อนในวัยเด็ก
ปกติ : Anterior Posterior diameter (A.P diameter )
: Lateral diameter = 1:2 หรือ 5 : 7และควรดู Chest wall ด้วย
scoliosis : หรือหลังคด เป็นแต่กำเนิดถ้าคดมาก
จะทำให้เกิดการกดปอด เกิดหัวใจวายได้
Kyphosis : กระดูกสันหลังคดเอียง ไปด้านข้าง เกิดจาก
การยุบตัวของกระดูก สันหลัง วัณโรคหรือ
กระดูกผุในผู้สูงอายุ
Barrel shaped (อกถังเบียร์ ) : ภาวะที่ antero–posterior diameter กับ lateral diameter เป็น 1: 1พบใน โรค COPD และหลอดลม อักเสบเรื้อรัง
Pigeon chest (อกไก่/อกนกพิราบ) : คือลักษณะอกนูน
พบใน ผู้ป่วยโรคกระดกูอ่อน ขาดวิตามินดี
ความผิดปกติของการหายใจ
การหายใจลึก (Hyperpnea)
หมายถึง : การหายใจที่ลึกกว่าปกติ
เกิดจากสาเหตุ : การออกกำลังกายมาก ความเจ็บปวด อารมณ์รุนแรง ความเครียด จากภาวะทางจติใจ
การหายใจตื้นและหยุด (Cheyne–Stroke respiration)
หมายถึง : การหายใจที่เริ่มด้วยการหายใจตื้นๆ ก่อนแล้วลึกขึ้นๆ จนลึกเต็มที่แลhว หายใจตื้นลงๆ จนหยุดหายใจช่วงหนึ่ง แล้วเริ่มต้นใหม่สลับไปเรื่อยๆ
เกิดจาก : ความผิดปกติของศูนย์การหายใจ พบได้ ในผู้ที่เป็นโรคเส้นเลือดในสมองแตก ตีบ หรือตัน ภาวะหัวใจวาย
การหายใจลึกและถอนหายใจอย่างสมำเสมอ (Kussmaul respiration)
การกระตุ้นศูนย์หายใจซึ่่งเป็นผลทำให้หายใจลึกและอัตราการหายใจเพิ่มขึ้นลม หายใจมีกลิ่นผลไม้หรือกลิ่น คล้ายสารอะซิโตน
การหายใจใกล้สิ้นใจ (Air hunger)
คือ : การหายใจช้าๆและลึก ขณะที่หายใจเข้าศีรษะและหน้าอกจะเงยขึ้น ตาเหลือกขึ้นข้างบน หน้าบิด เบี้ยว ริมฝีปาก เล็บมือ เล็บเท้าเขียว
สาเหตู : การหายใจแบบนี้เกิดจากเส้น เลือดที่ไปเลี้ยงสมองขาดออกซิเจน
หายใจช้า (Bradypnea)
มักเกิด : จากศูนย์การหายใจ ถูกกด จากยา หรือสารพิษ หรือความดันในสมอง เพิ่มขึ้น
การแปลผล
กว้าง แสดงถึงว่าบริเวณนั้น มีสารเหลว ลม เลือด ที่เยื่อหุ้มปอดเช่น Empyema, pleural effusion, Peneumothrax, haemothoraxอื่น ๆ เช่น Pericardial effusion Liver abscess aortic aneurysm แคบ แสดงถึงว่าปอดมีขนาดเล็กพบใน Atelectasis, Fibrosis
การคลำ
คลำสิ่งต่อไปนี้
คลำหลอดลม
คลำทรวงอกดูการขยายของปอด
คลำtactile fremitus เพื่อดูการแพร่กระจายของเสียง
วัตถุประสงค์
เพื่อยืนยันการตรวจด้วยตา
มีเสียงที่รบกวนการหายใจหรือไม่
ดูความสั่นสะเทือนที่ผนังอกเวลาพูดซึ่งเป็นอาการแสดงเช่นมีน้ำ อากาศ หรือปอดหนาทึบ
คลำการสั่นสะเทือน(tactile fremitus)
ภาวะปกติ : บริเวณข้างๆกระดูกอกตรงตำแหน่ง ซี่โครงหรือช่องซี่โครงที่2และสั่นสะเทือนเท่ากันทั้งสองข้าง
วิธีการคลำ
1.การคลำจะลำดับจากบนลงล่างและคลำให้ทั่วปอด
2.นับ 123 ดว้ยความดังเท่ากันตลอด
3.สังเกตความรู้สึกสั่นสะเทือนที่นิ้วมือที่วาง
4.เปรียบเทียบว่าทรวงอกสอง ข้างสั่นสะเทือนเท่ากันหรือไม่
ภาวะผิดปกติ : คลำได้ tactile fremitus ลดลงเมื่อมีน้ำหรือลมกั้นระหว่างผนังทรวงอกกับเนื้อปอด การอุดตันของหลอดลมใหญ่ เพิ่มขึ้น ปอดแฟบ ปอดชื้น
วิธีการคลำ
2.วางฝ่ามือทั้งสองทาบทรวงอก ด้านหลัง ให้นิ้วหัวแม่มือทั้งสองวางทอดขนานไป กับซี่โครงส่วนอก ที่ 10
3.ฝ่ามือทาบให้แน่นกับทรวงอก ใช้แรงดันจากข้อมือ ให้ข้อศอกและไหล่ หย่อน
4.ใช้นิ้วหัวแม่มือดันผิวหนังให้เกิดลอน หรือจีบอยู่ระหว่างนิ้วหัวแม่มือกับกระดูกสันหลัง
5.ให้ผู้รับบริการหายใจเข้าลึกๆยาวๆ
6.สังเกต ความรู้สึกขยายของฝ่ามือทั้งระยะทางและความเท่ากัน
7.สังเกตการเคลื่อนที่ออกจากจุดกึ่งกลางของนิ้วหัวแม่มือ ถ้ามือของผู้ตรวจเคลื่อนที่จากจุดกลางน้อยลง
แสดงว่าทรวงอกด้านนั้นมีพยาธิ สภาพเกิดขึ้นที่ปอดหรือเยื่อหุ้มปอด
1.ให้ผู้ป่วยอยู่ในท่านั่ง
การเคาะ
วัตถุประสงค์
การเคาะจะช่วยให้ทราบว่าเนื้อเยื่อของปอดนั้นมีลมหรือน้ำหรือของแข็งอยู่
วิธีการเคาะ
1.การเคาะจะเริ่มจากยอดปอดลงล่าง เคาะซ้ายขวาระดับเดียวกัน เปรียบเทียบกัน ระยะห่างกันประมาณ
4-5เซนติเมตร
2.เคาะทรวงอกด้านหน้า ท าโดยให้ผู้รับบริการนอน เริ่มเคาะที่บริเวณ เหนือกระดูกไหปลาร้าและเคาะใตก้ระดูกไหปลาร้าเปรียบเทียบซ้ายขวา ไล่จากบนลงล่าง ระยะห่างประมาณ 4-5 เซนติเมตร เคาะตั้งแต่ซี่โครงที่2 ถึง6ในแนว mid clavicularline หรือห่างจากsternum 2.5 เซนติเมตร
3.เคาะทรวงอกดา้นขา้งในแนว anterior axillary line จากช่องซี่โครงที่4 ถึง 8 ภาวะปกติ จะไดย้นิเสียง resonance ทั่วปอด การเคาะดา้นหลังจะ ได้ยนิเสียง resonance ทั่วทั้งปอด
ลักษณะของเสียง
Flatnessเทียบได้กับเสียงที่เกิดจากการเคาะกล้ามเนื้อต้นขาเป็นเสียงทึบ ให้นึกถึงน้ำใน ช่องปอดและเยื่อหุ้มปอด
Dullnessคล้ายเสียงเคาะบริเวณหัวใจทึบน้อยกว่าFlatnessพบในผปู้่วยปอดบวม
วัณโรค ปอดแฟบ
Tympanyเทียบได้กับเคาะในกระพาะอาหาร มีลมในช่องปอดมากๆ
Resonanceเคาะบริเวณเนื้อปอดปกติ
Hyper-resonanceเทียบได้กับเคาะบริเวณที่มีลมอยู่มาก พบในถุงลมโป่งพอง
การฟัง
วัตถุประสงค์
การฟังปอดมีประโยชน์ในการประเมินลมที่ผ่านหลอดลมและส่วนต่างๆ ให้ทราบว่ามีน้ำหรือเสมหะหรือสิ่งอุดกั้นทางเดินหายใจหรือไม่
การฟังมีการปฏิบัติ 3 อย่าง คือ การฟังเสียงหายใจ การฟังเสียงพูด และ การฟังเสียงผดิปกติ การฟังปอดใชหู้ฟัง (Stethoscope) ซ่ึงมี 2 ดา้นคือ ด้านไดอะ
แฟรม(Diaphragm)ฟังปอดทั้งสองข้างระดับ เดียวกันเปรียบเทียบกัน แนวการฟังเช่นเดียวกับการเคาะ
การฟัง ฟังลักษณะเสียงหายใจ(breath sound)ลักษณะก้องของ เสียงพูด(resonance sound) และลกัษณะเสียงผิดปกติ
ข้อควรระวัง
ก่อนตรวจแนะนำผู้ป่วยให้ร่วมมือกับการตรวจให้ดี เช่น มิให้พูดคุยหรือทำ เสียง ขณะตรวจ หายใจเข้า-ออก แรงกว่าปกติ
ผู้ตรวจเองต้องไม่แนบหูฟังสนิทกับผิวหนังเกินไป และควรหลีกเลี่ยงมิใหม้ี เสื้อผ้ากั้นระหว่างผิวหนังกับเครื่องฟัง เพราะเสียงจะถูกรบกวน แปลผลผิดพลาดได้
การฟังเสียงหายใจ (breath sound)
Bronchial breath sound เสียงดัง แหลม ออกยาว เข้าสั้น แนะนำให้ผู้ถูกตรวจ หายใจเข้าออกลึกๆ ทางปาก ผู้ตรวจใช้ stethoscope ด้าน diaphragm แนบไปที่ บริเวณ Sternal angle หรือ บริเวณ Trachea
Bronchovesicular breath sound เสียงผสม เข้า-ออกนานเท่ากนัผู้ตรวจใช้ stethoscope ด้าน diaphragm แนบไปที่บริเวณมุมของกระดูกกลางอก (Sternal Angle) ถึงกระดูกซี่โครงที่ 4 ของทรวงอกด้านหน้าและระหว่างกระดูกสะบัก (Scapular) ท ี่T4-T7 ที่ด้านหลัง
Vesicular breath sound เสียงจะเบาเป็นลมเบาๆหายใจเข้าจะยาวกว่าหายใจออก ผู้ตรวจใช้ stethoscope ด้าน diaphragm แนบไปที่บริเวณบริเวณชายปอดทั้งงสอง ข้าง
ตำแหน่งการฟัง
เสียงผิดปกติ(adventitious sound)
1.Stridorเป็นเสียงที่เกิดจากลมหายใจที่ผา่นท่อทางเดินหายใจขนาดใหญ่ที่แคบ เช่น การบวมของกลอ่งเสียง หรอื หลอดลมใหญ่
Rhonchi เป็นเสียงหายใจผิดปกติที่เกิดจากกการตีบแคบของหลอดลม หรือ หลอดลมฝอย อาจเกิดจากหลอดลมหดเกร็ง เยื่อบหุลอดลมบวมหรือ มีเสมหะในหลอดลมได้ยินทั้งช่วงหายใจ
crepitation หรือ crackle ได้ยินขณะหายใจเข้า ลักษณะเสียงคล้ายใช้นิ้วขยี้ผมใกล้ๆหูเกิดจากอากาศผ่านน้ำเมือกในหลอดลมฝอยและถงุลม
wheezing ได้ยินทั้งช่วงหายใจเข้าและออกลักษณะเสียงจะต่อเนื่อง คล้ายเสียงนกหวีดหรือ เสียงผิวปากเกิดจากอากาศผ่านหลอดลมเล็กที่ตีบแคบ และมีน้ำเมือกหรือ exudate เกาะขวาง อย่เูป็นแห่งๆ