Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตรวจระบบประสาท (การตรวจ cranial nerves (Trigeminal nerve (•…
การตรวจระบบประสาท
การตรวจ cranial nerves
-
• Optic nerve
ตรวจ visual field, visual acuity
• Oculomotor, Trochlear, Abducen nerve
Trigeminal nerve
• ให้ผู้ป่วยกัดฟันแล้วแตะที่ขมับและแก้ม เพื่อดูกำลังของกล้ามเนื้อ temporalis, masseter
-
-
-
-
Glossopharyngeal, vagusnerve
-
-
• Gag reflex โดยใช้ไม้กดลนิ้แตะทคี่อหอยด้านหลงั จะน้อยลง หรือไม่มีปฏิกิริยาในผู้ป่วยที่มีรอยโรคของเส้นประสาทสมองของท้งั สองเส้นนี้
Accessory nerve
• ตรวจกล้ามเนื้อ sternocleidomastoid ให้ผู้ป่วยหันหน้าไปด้านตรงข้าม ผู้ตรวจพยายามดันคางกลับมาที่เดิมโดยผู้ป่วยต้านไว้
• ตรวจกล้ามเนื้อ trapezius โดยให้ผู้ป่วยยกไหล่ทั้งสองข้างขึ้นผู้ตรวจ พยายามกดไหล่ลง คนปกติจะสามารถต้านแรงได้
Hypoglossal nerve
• ให้ผู้ป่วยแลบลิ้น ดูว่ามี atrophy หรือ fasciculation หรือไม่ ถ้าเฉไปทางด้านใด แสดงถงึความพกิารของเส้นประสาทด้านน้ัน
การตรวจกล้ามเนื้อ
• ตรวจขนาด ความตึง (tone) และกำลังกล้ามเนื้อเพื่อหาตำแหน่งพยาธิ สภาพที่ท าให้กล้ามเนื้ออ่อนแรงว่าอยู่ตำแหน่งใด (สมอง ไขสันหลัง ราก ประสาท ข่ายประสาท เส้นประสาทส่วนปลาย และกล้ามเนื้อ)
-
• ตรวจความตึงของกล้ามเนื้อขณะพกั ถ้ามากผดิปกติ (hyper-tonicity) พบใน ผู้ที่มีพยาธิสภาพสูงกว่า anterior horn cellถ้าน้อยกว่าปกติ (hypo-tonicity) พบในผู้ที่มีพยาธิสภาพต ่ากว่า anterior horn cell
-
-
• ตรวจดูว่ามีการหดรั้ง, fasciculation, tremor และ cogwheel rigidity หรือไม่
การตรวจกล้ามเนื้อ
• ตรวจขนาด ความตึง (tone) และกำลังกล้ามเนื้อเพื่อหาตำแหน่งพยาธิ สภาพที่ทำให้กล้ามเนื้ออ่อนแรงว่าอยู่ตำแหน่งใด (สมอง ไขสันหลัง ราก ประสาท ข่ายประสาท เส้นประสาทส่วนปลาย และกล้ามเนื้อ)
-
• ตรวจดูว่ามีการหดรั้ง, fasciculation, tremor และ cogwheel rigidity หรือไม่
• ตรวจความตึงของกล้ามเนื้อขณะพกั ถ้ามากผดิปกติ (hyper-tonicity) พบใน ผู้ที่มีพยาธิสภาพสูงกว่า anterior horn cellถ้าน้อยกว่าปกติ (hypo-tonicity) พบในผู้ที่มีพยาธิสภาพต ่ากว่า anterior horn cell
-
-
การตรวจรีเฟล็กซ์
Biceps Reflex
• ผู้ประเมินประคองข้อศอกของผู้ป่วย ไว้โดยให้มือของผู้ป่วยวางพักบนแขนท่อนล่างของผู้ประเมิน และข้อศอกของผู้ป่วยงอเล็กน้อยโดยที่ผู้ป่วยต้อง ไม่เกร็ง ผู้ประเมินวางนิ้วโป้งไว้บน ตำแหน่งเอ็นกล้ามเนื้อ biceps ที่ บริเวณข้อศอกของผู้ป่วย และใช้ค้อน ยางเคาะไปบนนิ้วโป้งของตนเอง จะ รู้สึกว่ากล้ามเนื้อbiceps มีการหดตัว
Triceps reflex
• ผู้ประเมินประคองแขนของผู้ป่วย บริเวณกล้ามเนื้อbiceps และปล่อย ให้แขนห้อยลงโดยทขี่้อศอกงอ ผู้ประเมินเคาะค้อนยางที่ด้านหลงั ของแขน บนบริเวณเหนือต่อ ข้อศอกเล็กน้อย จะรู้สึกว่า กล้ามเนื้อหดตัว
Knee jerk
• ผู้ป่วยนั่งอยู่บนเตียงตรวจ หรือเก้าอี้ให้เท้าลอยพ้น พื้น ผู้ประเมินเคาะที่เข่า ของผู้ป่วยบริเวณเหนือต่อ ลูกสะบ้า และให้สังเกตว่า มีการหดตัวของกล้ามเนื้อ quadriceps และขาท่อน ล่างเด้งออกมาข้างหน้า
-
-
-
-
การตรวจทั่วไป
การสังเกต
• ท่าทาง (Posture) สังเกตว่าส่วนของร่างกายด้านซ้ายและขวาสมมาตร กันหรือไม่ สังเกตระดับไหล่ ระดับเชิงกรานเท่ากันหรือไม
• ส่วนโค้งกระดูกสันหลัง (Spinal curvatures) มี 3 ส่วนคือระดับคอแอ่น 20-40 องศา ระดับอกโก่ง 20-45 องศา และระดับเอวแอ่น 40-60 องศา
• แนวกระดูกสันหลัง (Spinal alignment) เริ่มจากดูแนวของศีรษะ ถ้าแนว ศีรษะเอียงผิดปกติ อาจเกิดจากกระดูกสันหลังคด สังเกตระดับไหล่ทั้ง 2 ข้าง แนวกระดูกสะบักและเชิงกรานว่าเท่ากันหรือไม่
-
-
การคลำ
• คลำหาตำแหน่งจุดกำหนดกายวิภาคต่างๆ แนว spinous process โดยเฉพาะ C7, T1
-
-
-
การตรวจ Coordination
การรับรู้สัมผัส
วิธีตรวจ
- ตรวจโดยให้ผู้ป่วยอยู่ในท่านั่ง
-
- ให้ผู้ป่วยใช้นิ้วชี้ของแขนอีกข้างหนึ่งสัมผัสที่จมูก
- จากนั้นผู้ตรวจ บอกให้ผู้ป่วยใช้นิ้วชี้ของแขนข้าง สัมผัสจมูกไปสัมผัสกับนิ้วชี้ของแขน ข้างที่เหยียด
- ถ้าผู้ป่วยไม่สามารถทา ได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ว แสดงว่า น่าจะมีพยาธิสภาพของสมองน้อย
-