Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Asthma (การพยาบาล (ภาวะพร่องออกซิเจนจากประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนก๊าสลดลง…
Asthma
-
-
-
-
-
-
-
-
การพยาบาล
- ภาวะพร่องออกซิเจนจากประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนก๊าสลดลง
-
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินภาวะพร่องออกซิเจน ประเมินอัตราการหายใจ ชีพจร สีของเล็บ ปลายมือปลายเท้า เยื่อบุผิวหนัง ลักษณะการซีด เขียว เพราะอาการหายใจหอบ ชีพจรเร็ว ปลายมือปลายเท้า เยื่อบุผิวหนัง ลักษณะการซีด เขียว แสดงถึงภาวะพร่องออกซิเจน เพื่อรายงานแพทย์พิจารณาการให้ออกซิเจน
จัดท่านอนศีรษะสูง เพราะทำให้กระบังคมเคลื่อนต่ำลง ปอดขยายตัวได้เต็มที่ เพิ่มพื้นที่ในการแลกเปลี่ยนก๊าซมากขึ้น
ดูแลให้ผู้ป่วยพักผ่อนบนเตียง เพราะการพักผ่อนบนเตียงจะช่วยลดการใช้ออกซิเจนในการทำกิจกรรม ทำให้อาการเหนื่อยอ่อนเพลียลดลง
สอนการไออย่างมีประสิทธิภาพ เพราะการไออย่างมีประสิทธิภาพจะทำให้ลดการคั่งค้างของเสมหะที่ปอดทำให้ปอดขยายตัวได้เพิ่มขึ้น
-
-
- ติดเชื้อที่ระบบทางเดินหายใจ
-
กิจกรรมการพยาบาล
-
-
-
แนะนำให้ผู้ป่วยรักษาสุขภาพโดย พักผ่อน และออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ รักษาช่องปาก ฟัน ให้สะอาดอยู่เสมอ เพื่อป้องกันการติดเชื้อของทางผ่านอากาศหายใจ
-
- วิตกความกังวลเกี่ยวกับการเจ็บป่วย
-
กิจกรรมการพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพที่ดีต่อผู้ป่วย โดยปลอบโยนให้กำลังใจด้วยท่าทางเป็นกันเอง เพื่อให้ผู้ป่วยเกิดความรู้สึกอบอุ่นและไว้ว่างใจ
อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติเข้าใจถึงการดำเนินของโรคตลอดจนการรักษาโรคที่เป็นอยู่ และแนะนำให้ผู้ป่วยทราบถึงความรุนแรงและประโยชน์ของการรักษา เพื่อคลายความวิตกกังวล
-
-
-
- เสี่ยงต่อภาวะอุดกั้นทางเดินหายใจจากหอบหืด
กิจกรรมการพยาบาล
-
-
-
ประเมินอัตราเร็วและลักษณะการหายใจ ชีพจร เล็บเยื่อบุ และผิวหนัง เพื่อประเมินอาการแสดงของการขาดออกซิเจนหรือการหายใจไม่เพียงพอ
-
วัดสัญญาณชีพทุก 1 ชั่วโมง และ ทุก 4 ชั่วโมง เพื่อประเมินความรุนแรงของอาการหอบหืด โดย
สังเกตจากอาการหอบ การใช้กล้ามเนื้อที่เกี่ยวข้องกับการหายใจระดับความรู้สึกตัว
-
- พร่องความรู้ในการปฏิบัติตนให้เหมาะสมกับโรคหอบหืด
-
-
- เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น การติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ ภาวะปอดแฟบ เนื่องจากภายหลังการได้รับการรักษาโรคหอบหืดขั้นต้นแล้วอาการยังไม่ทุเลา
-
กิจกรรมการพยาบาล
-
-
-
ช่วยระบายเสมหะโดยการเคาะผนังอก การใช้แรงสั่นสะเทือนและการดูดเสมหะ สังเกตสี
เป็นสีเหลืองอ่อน ปริมาณของเสมหะ 2 มิลลิลิตร
-
-
อ้างอิง
สมาคมสภาองค์กรโรคหืดแห่งประเทศไทย. (2555). แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคหืดในประเทศไทย.กรุงเทพมหานคร: ยูเนียนอุลตร้าไวโอเร็ต จำกัด.
สามาคมอุรเวชช์แห่งประเทศไทย. (2547). แนวทางการวินิจฉัยและรักษาโรคหืดในประเทศไทย(สำหรับผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ). กรุงเทพมหานคร: สมาคมอุรเวชช์แห่งประเทศไทย.
วัชรา บุญสวัสดิ์. (2548). คลินิกโรคหืดแบบง่ายๆ (Easy Asthma Clinic). กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจำกัด ส.รุ่งทิพย์ ออฟเซท.