Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การคัดกรองภาวะเสี่ยงของสตรีตั้งครรภ์ (การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อคัดกรองภาวะเ…
การคัดกรองภาวะเสี่ยงของสตรีตั้งครรภ์
ปัจจัยเสี่ยงโดยรวม
ปัจจัยด้านชีวฟิสิกส์
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องทางพันธุกรรม (genetic Considerations)
มีประวัติผิดปกติทางพันธุกรรมในครอบครัว
โรคทางพันธุกรรมของสตรีตั้งครรภ์และคู่สมรส
การตั้งครรภ์แฝด
ปัจจัยด้านโภชนาการ (nutritional status)
มีการตั้งครรภ์มากกว่า 3 ครั้งในระยะ 2 ปีที่ผ่านมา
การสูบบุหรี่ ใช้สารเสพติด ดื่มสุรา
ภาวะเจ็บป่วยเรื้อรัง โลหิตจาง
ภาวะเจ็บป่วยเรื้อรัง โลหิตจาง
มีน้ำหนักตัวเพิ่มน้อยหรือมากกว่าเกณฑ์
ปัจจัยความผิดปกติทางด้านการแพทย์และสูติกรรม (medical and obstetric disorders)
ปัจจัยภาวะแทรกซ้อนของสุขภาพในการตั้งครรภ์ในอดีตและครรภ์ปัจจุบัน
การเจ็บป่วยหรือบาดเจ็บเนื่องจากการตั้งครรภ์
การแท้งหรือการสูญเสียทารกในครรภ์
ปัจจัยด้านจิตใจ
คัดกรองความเครียด (stress) สตรีตั้งครรภ์ที่มีความเครียดสูงจะมีการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดมากกว่าสตรีตั้งครรภ์ที่ไม่มีความเครียด
คัดกรองภาวะซึมเศร้า (depression)
คัดกรองการทำร้ายของคู่สมรส (intimate partner violence)
ปัจจัยส่วนบุคคล
ไม่มีรายได้หรือรายได้น้อย
การไม่ฝากครรภ์หรือฝากครรภ์ไม่ครบตามเกณฑ์
อายุ อายุมากกว่า 35 ปี หรือน้อยกว่า 17 ปี
เชื้อชาติหรือชนชาติ
แบบแผนสุขภาพ เ
ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม
การได้รับรังสี สารเคมี มลภาวะที่เป็นภาวะอันตรายจากโรงงานอุตสาหกรรม
การติดเชื้อ
ปัจจัยเสี่ยงเฉพาะประเด็น
ภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานในระยะตั้งครรภ์
แนวทางการคัดกรองเบาหวานในระยะตั้งครรภ์
เสี่ยงต่ำ ไม่จำเป็นต้องตรวจคัดกรองเบาหวาน
อายุน้อยกว่า 25 ปี
น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์อยู่ในเกณฑ์ปกติ อยู่ในชุมชนที่มีความชุกของเบาหวานขณะตั้งครรภ์ต่ำ
ไม่มีสมาชิกในครอบครัวเป็นเบาหวาน
ไม่มีประวัติความผิดปกติของคงทนต่อน้ำตาลกลูโคส
ไม่มีประวัติของผลการตั้งครรภ์ที่ไม่ดีในครรภ์ก่อน
ภาวะเสี่ยงเฉพาะการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
การประเมินครรภ์เสี่ยงสูงที่จะเกิดการคลอดก่อนกำหนด
ของครีซี กรัมเมอร์ ลิกกินส์
การแบ่งกลุ่มสตรีตั้งครรภ์ตามระดับของภาวะเสี่ยง
กลุ่มเสี่ยงต่ำ (low risk) คือ กลุ่มที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อนในการตั้งครรภ์ปัจจุบันและอดีต ทารกในครรภ์มีการเจริญเติบโตและพัฒนาการเป็นปกติ ไม่จำเป็นต้องได้รับการตรวจวินิจฉัยพิเศษใด
แนวทางการดูแลตามระดับความเสี่ยงต่ำ
สามารถให้การดูแลในระดับโรงพยาบาลประจำตำบลได้ โดยให้การดูแลเหมือนสตรีตั้งครรภ์ปกติและเฝ้าระวังภาวะเสี่ยง และส่งต่อไปยังโรงพยาบาลอำเภอเมื่อมีความผิดปกติเกิดขึ้น
กลุ่มเสี่ยงปานกลาง (moderate risk) คือ กลุ่มที่ต้องได้รับการตรวจวินิจฉัยและเฝ้าระวังการเกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น อายุมากกว่า 35 ปี
แนวทางการดูแลตามระดับความเสี่ยงปานกลาง
ควรได้รับการดูแลในโรงพยาบาลอำเภอหรือโรงพยาบาลทั่วไปเพื่อตรวจวินิจฉัยเบื้องต้นและเฝ้าระวังความรุนแรงของภาวะเสี่ยง และควรส่งต่อไปยังโรงพยาบาลศูนย์หรือโรงพยาบาลที่มีแพทย์เฉพาะทางเมื่อต้องการตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติม หรือภาวะเสี่ยงนั้นมีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น
กลุ่มเสี่ยงสูง (high risk) คือ กลุ่มที่ภาวะเสี่ยงมีผลกระทบอย่างรุนแรงต่อมารดาและทารก ต้องได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ คลอด และหลังคลอด และต้องได้รับการตรวจติดตามจากแพทย์ตามความรุนแรงของภาวะเสี่ยง เช่น มีความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ ครรภ์แฝด
เลือดขณะตั้งครรภ์ ตั้งครรภ์เกินกำหนด เป็
แนวทางการดูแลตามระดับความเสี่ยงสูง
ควรได้รับการดูแลในโรงพยาบาลขนาดใหญ่ที่มีแพทย์เฉพาะทางหรือโรงพยาบาลศูนย์ โดยรับไว้ดูแลในคลินิกภาวะเสี่ยงสูง (high risk clinic) มีการตรวจติดตามและให้การดูแลอย่างใกล้ชิดจากแพทย์เฉพาะทางตามภาวะเสี่ยงที่เกิดขึ้น
แบบประเมินความเสี่ยงของสตรีตั้งครรภ์
การประเมินคัดกรองเบื้องต้นเพื่อการส่งต่อ
แบบประเมินความเสี่ยงของสตรีตั้งครรภ์ (classifying form)
ป็นแบบประเมินจากการซักประวัติ จำนวน 18 ข้อ
ใช้ประเมินสตรีตั้งครรภ์ทุกรายเมื่อฝากครรภ์ครั้งแรก
ในรายที่มีประวัติอย่างใดอย่างหนึ่ง ให้ส่งพบแพทย์เพื่อการตรวจวินิจฉัยภาวะเสี่ยง รับการตรวจวินิจฉัย และรักษา
ในรายที่ซักประวัติไม่พบความเสี่ยงข้อใดข้อหนึ่ง ให้ตรวจและนัดฝากครรภ์ตามองค์ประกอบพื้นฐานการดูแลสตรีตั้งครรภ์ (basic component)
เกณฑ์เสี่ยงทั่วไปทางสูติกรรมของบุญปรีดี ศิริวงค์
คะแนนรวมอยู่ในช่วง 0-2 เป็นกลุ่มเสี่ยงต่ำ (low risk)
คะแนนรวมอยู่ในช่วง 3-6 เป็นกลุ่มเสี่ยงปานกลาง (morderate risk)
คะแนนรวมตั้งแต่ 7 ขึ้นไป เป็นกลุ่มเสี่ยงสูง (high risk)
แบบประเมินสตรีตั้งครรภ์เสี่ยงสูงของเมอร์ค (Merck manual)
เป็นแบบประเมินเพื่อคัดกรองการตั้งครรภ์เสี่ยงสูง
คะแนนตั้งแต่ 10 ขึ้นไป จัดเป็นครรภ์เสี่ยงสูงที่ต้องส่งต่อสูติแพทย์
การประเมินคัดกรองโรค
. แบบประเมินสภาวะสุขภาพสำหรับการคัดกรองโรค
แบบประเมินสุขภาพจิต 3 ส่วน
ส่วนที่ 1 เป็นการประเมินความเครียด (ST-5)
ส่วนที่ 2 คัดกรองโรคซึมเศร้า
ส่วนที่ 3 ประเมินปัญหาการดื่มสุรา
แบบทดสอบวัดระดับการติดนิโคติน แบบคัดกรองและส่งต่อ ผู้ป่วยที่ใช้ยาและสารเสพติดเพื่อรับการบำบัดรักษา
การประเมินครรภ์เสี่ยงสูงที่จะเกิดการคลอดก่อนกำหนด ของครีซี กรัมเมอร์ ลิกกินส์ ให้คะแนนตามปัจจัยเสี่ยงและรวมคะแนนทั้งหมด คะแนนตั้งแต่ 10 ขึ้นไป จะจัดเป็นกลุ่มเสี่ยงสูง (High risk)
การคัดกรองกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคทางอายุรกรรมที่สำคัญ และพบบ่อยในระยะตั้งครรภ์ เช่น เบาหวาน โรคตับอักเสบบี โรคโลหิตจาง
แนวทางการคัดกรองเบาหวานในระยะตั้งครรภ์
เสี่ยงต่ำ ไม่จำเป็นต้องตรวจคัดกรองเบาหวาน
อายุน้อยกว่า 25 ปี
น้ำหนักก่อนตั้งครรภ์อยู่ในเกณฑ์ปกติ อยู่ในชุมชนที่มีความชุกของเบาหวานขณะตั้งครรภ์ต่ำ
ไม่มีสมาชิกในครอบครัวเป็นเบาหวาน
ไม่มีประวัติความผิดปกติของคงทนต่อน้ำตาลกลูโคส
ไม่มีประวัติของผลการตั้งครรภ์ที่ไม่ดีในครรภ์ก่อน
เสี่ยงปานกลาง ควรตรวจคัดกรองเบาหวานขณะอายุครรภ์ 24-28 สัปดาห์กลุ่มที่มีคุณสมบัตินอกเหนือจากกลุ่มที่มีความเสี่ยงต่ำและความเสี่ยงสูง
เสี่ยงสูง ต้องคัดกรองเบาหวานเมื่อฝากครรภ์ครั้งแรก ถ้าผลปกติต้องตรวจซ้ำขณะอายุครรภ์ 24-28 สัปดาห์
BMI มากกว่าหรือเท่ากับ 30 kg/m2
มีประวัติเคยเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์
ตรวจพบน้ำตาลในปัสสาวะ
ญาติสายตรงเป็นเบาหวาน
น้ำหนักเพิ่มขึ้นมากกว่า 4 กิโลกรัมต่อเดือน
เคยคลอดบุตรน้ำหนักมากกว่า 4,000 กรัม
การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อคัดกรองภาวะเสี่ยงและผลกระทบต่อสุขภาพของมารดาและทารก
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การตรวจครรภ์
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การประเมินด้านจิตสังคม
นางสาวธัญญารัตน์ โยเหลา เลขที่51 นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่2