Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การคัดกรองภาวะเสี่ยงของสตรีตั้งครรภ์ (ปัจจัยด้านชีวฟิสิกส์ (biophysical…
การคัดกรองภาวะเสี่ยงของสตรีตั้งครรภ์
ปัจจัยด้านชีวฟิสิกส์ (biophysical factors)
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องทางพันธุกรรม(genetic consideration)
มีผลต่อการเจริญเติบโต
และความผิดปกติของทารกในครรภ์
การตั้งครรภ์แฝด อาจทำให้คลอดก่อนกำหนด
โรคทางพันธุกรรม
ปัจจัยด้านโภชนาการ
(nutritional status)
มีผลต่อทารกในครรภ์จากการขาดสารอาหารหรือได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ
ตั้งครรภ์วัยรุ่น
น้ำหนักตัวเพิ่มน้อยหรือมากกว่าเกณฑ์
การสูบบุหรี่ ดื่มสุรา ใช้สารเสพติด
มีภาวะโลหิตจาง
ปัจจัยความผิดปกติทางด้านการแพทย์และสูติกรรม (medical and obstetric disorder)
ภาวะแทรกซ้อนของสุขภาพในการตั้งครรภ์ในอดีตและปัจจุบัน
การแท้งหรือสูญเสียทารก
ปัจจัยด้านจิตใจ
(psychological factors)
เป็นปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการดูแลตนเอง การสูญเสียภาพลักษณ์ และขาดอหล่งสนับสนุนทางสังคม
ปัจจัยส่วนบุคคล
(sociodemographic factors)
การมีรายได้น้อย ส่งผลให้ทารกในครรภ์ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ
อายุ เชื้อชาติ ชนชาติ แบบแผนสุขภาพ และการสนับสนุนทางสังคม
ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม
(environment factors)
คัดกรองจากสภาพการดำเนินชีวิตและการทำงาน
การแบ่งกลุ่มสตรีตั้งครรภ์ตามระดับของภาวะเสี่ยง
กลุ่มเสี่ยงต่ำ (low risk)
ไม่มีภาวะแทรกซ้อนในการตั้งครรภ์ในปัจจุปันและอดีต
กลุ่มเสี่ยงปานกลาง (moderate risk)
ต้องได้รับการตรวจวินิจฉัยและเฝ้าระวังการเกิดภาวะแทรกซ้อน
กลุ่มเสี่ยงสูง (high risk)
ต้องได้รับการตรวจติดตามและดูแลอย่างใกล้ชิด
แบบประเมินความเสี่ยงของสตรีตั้งครรภ์
แบบประเมินคัดกรองเบื้องต้น
แบบประเมินความเสี่ยงของสตรีมีครรภ์ (classifying form)
ซักประวัติ 18 ข้อ
ประเมินทุกรายเมื่อฝากครรภ์ครั้งแรก
หากพบประวัติข้อใดข้อหนึ่งให้ส่งพบแพทย์เพื่อวนิจฉัยความเสี่ยง
เกณฑ์เสี่ยงทั่วไปทางสูติกรรมของ
บุญปรีดี ศิริวงค์
0-2 low risk
2-6 moderate risk
ตั้งแต่ 7 ขึ้นไป high risk
แบบประเมินสตรีตั้งครรภ์เสี่ยงสูงของเมิร์ค (Merck manual)
คะแนนตั้งแต่ 10 ขึ้นไป ต้องส่งต่อให้สูติแพทย์
แบบประเมินคัดกรองโรค
แบบประเมินสภาวะสุขภาพสำหรับการคัดกรองโรค
แบบประเมินสุขภาพจิต
ส่วนที่ 1 ประเมินความเครียด (ST-5)
ส่วนที่ 2 คัดกรองโรคซึมเศร้า
ส่วนที่ 3 ปัญหาการดื่มสุรา
แบบทดสอบระดับการติดนิโคติน แบบคัดกรองและส่งต่อ ผู้ป่วยที่ใช้ยาและสารเสพติดเพื่อรับการรักษา
การประเมินครรภ์เสี่ยงสูงที่จะเกิดคลอดก่อนกำหนด
คะแนนตั้งแต่ 10 ขึ้นไป
การคัดกรองกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคทางอายุรกรรม
ที่พบบ่อยคือ เบาหวาน โรคตับอีกเสบบี โรคโลหิตจาง
แนวทางการคัดกรองเบาหวานในระยะตั้งครรภ์
เสี่ยงต่ำ ไม่จำเป็นต้องคัดกรองเบาหวาน
เสี่ยงกลาง ควรตรวจเมื่ออายุครรภ์ 24-28 สัปดาห์เนื่อยจากมีฮอร์โมน HPL ทำงานสูงในช่วงนี้
เสี่ยงสูง ต้องคัดกรองเบาหวานเมื่อฝากครรภ์แรก ถ้าผลปกติต้องตรวจซ้ำขณะอายุครรภ์ 24-28 สัปดาห์
หลักการช่วยเหลือเบื้องต้นและการส่งต่อเพื่อรับการรักษา
1 ค้นหาสตรีในระยะตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง
ให้การดูแลรักษาอย่างเหมาะสมในแต่ละเกณฑ์เสี่ยง
การดูแลและการส่งต่อสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงอย่างเหมาะสม