Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 15 การจัดการเกี่ยวกับพฤติกรรมที่เป็นปัญหา (ปัญหาพิเศษ…
บทที่ 15
การจัดการเกี่ยวกับพฤติกรรมที่เป็นปัญหา
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาคืออะไร
ปัญหาที่ไม่รุนแรง
เป็นพฤติกรรมที่ขัดต่อกระบวนการและกฎ แต่ไม่รบกวนกิจกรรมการเรียนการสอน
ผู้เรียนพูดโดยไม่ยกมือขออนุญาต
ตัวอย่าง ขณะครูกำลังสอนจำปีแทรกพูดข้อมูลเพิ่มเติมเรื่องที่ครูสอนโดยไม่ยกมือขออนุญาต
ลุกจากที่นั่งโดยไม่ขออนุญาต
ตัวอย่าง ขณะครูกำลังสอนจำปีลุกจากที่นั่งเข้าห้องน้ำโดยไม่ได้ขออนุญาต
การปากระดาษลงพื้น
ตัวอย่าง จำปีเล่นปากระดาษขณะที่ครูกำลังสอนอยู่หน้าห้อง
การส่งข้อความกัน
ตัวอย่าง จำปีและจำปาคุยกันขณะครูกำลังสอน
การกินขนม
ตัวอย่าง จำปีแอบกินขนมขณะครูกำลังสอน
นั่งคุยกันในขณะทำแบบฝึกหัดหรืองานกลุ่ม
ตัวอย่าง จำปีและจำปาคุยกันขณะทำงานกลุ่ม
ปัญหารุนแรง แต่มีข้อจำกัดเรื่องขอบเขตและผลกระทบ
เป็นพฤติกรรมที่มีผลกระทบต่อการเรียนการสอนที่เกิดกับผู้เรียนคนเดียวหรือ2-3คน
ไม่ปฏิบัติตามกฎบ่อยๆ
ตัวอย่าง จำปาไม่สนใจกฏระเบียบของโรงเรียน เช่น ไว้ผมยาว ไม่ใส่เสื้อในกางเกง
การทำร้ายคนอื่น
ตัวอย่าง นัดทีชอบทำร้ายและทะเลาะกับเพื่อนผู้หญิงที่ไม่มีทางสู้
การทำงานไม่เสร็จ
ตัวอย่าง จำปาไม่เคยทำงานเสร็จส่งครู
แสดงอาการป่าเถื่อน
ตัวอย่าง จำปาชอบข่มขู่เพื่อนในห้องเรียน
ไม่ทำงานเป็นประจำ
ตัวอย่าง จำปาไม่เคยทำงานที่ได้รับมอบหมายจากครูผู้สอน
สิ่งที่ไม่เป็นปัญหา
เป็นพฤติกรรมทั่วไปที่ไม่เป็นปัญหากระทบใครๆ และไม่กระทบการสอน
การคุยกันในระหว่างเปลี่ยนกิจกรรม
ตัวอย่าง ระหว่างเปลี่ยนคาบสอน สุดากับมะลิคุยกันเสียงดัง
พฤติกรรมที่แสดงความไม่สนใจในระยะสั้นๆ
ตัวอย่าง ขณะครูกำลังสอนฟาตีนีแอบวาดภาพ
การคุยกันในขณะทำความสะอาด
ตัวอย่าง ก่อนกลับบ้านอาลีกับมีนาคุยกันขณะทำความสะอาดห้องเรียน
การหยุดระยะสั้นๆ ในขณะทำแบบฝึกหัด
ตัวอย่าง ขณะที่ครูให้ทำแบบฝึกหัด อามานีหยุดทำแบบฝึกหัดแล้วแง้มมองงานของเพื่อน
กลยุทธ์ในการจัดการ
หลักการทั่วไป คือ มาตรการป้องกันดีกว่าแก้
มาตรการแก้ปัญหาที่มีความรุนแรงปานกลาง
การทำโทษ
ตัวอย่าง นักเรียนที่คุยขณะครูสอน ครูทำโทษให้ทำแบบฝึกหัดเพิ่มมากขึ้น
การกักตัวผู้เรียน
ตัวอย่าง นักเรียนที่ไม่ทำงานที่ครูมอบหมาย ครูกักตัวผู้เรียนเวลาพัก
การแยก
ตัวอย่าง นักเรียนที่ไม่สนใจเรียน ครูให้ไปนั่งแยกหลังห้อง
การใช้อำนาจของโรงเรียน
ตัวอย่าง ครูแจ้งครูใหญ่ให้ทราบถึงพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมของผู้เรียน
งดสิทธิพิเศษหรือกิจกรรมพิเศษ
ตัวอย่าง ครูอนุญาตให้คุยกันเงียบๆ แต่มีนักเรียนมแสดงพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ครูให้ไปนั่งแยกต่างหาก
มาตรการในการแก้ปัญหาที่รุนแรงขึ้น
ใช้ระบบเพิ่มโทษ
ตัวอย่าง ผู้เรียนที่ไม่ทำตามข้อตกลง ครูควรเพิ่มโทษให้แก่ผู้เรียน
ใช้วิธีการแก้ปัญหา
ขั้นที่3 ยื่นข้อเสนอและทำข้อตกลง
ขั้นที่4 เขียนข้อตกลง
ขั้นที่2 ให้ผู้เรียนปฏิบัติตามกฎ
ขั้นที่5 ส่งผู้เรียนไปหาครูใหญ่
ขั้นที่1 ใช้สัญญาณโดยไม่ต้องพูด
พบผู้ปกครอง
ตัวอย่าง ผู้เรียนที่มีพฤติกรรมร้ายแรง ครูจำเป็นต้องแจ้งพฤติกรรมของผุ้เรียนให้ผู้ปกครองทราบ
การใช้รูปแบบการบำบัดเสมือนจริง
บำบัดผู้เรียนเป็นรายบุคคล
ทำข้อผูกพันสัญญา
ตัวอย่าง หากนักเรียนไม่ปฏิบัติตามข้อตกลง ครูทำสัญญาเขียนเป็นลายลักษณ์แล้วให้นักเรียนเซ็นชื่อ
มาตรการสำหรับปัญหาไม่ร้ายแรง
เตือนหรือแจ้งให้ผู้เรียนปฏิบัติให้ถูกต้องเหมือนเดิม
ตัวอย่าง ครูให้ผู้เรียนทุกคนตั้งใจตอบคำถามจากแบบฝึกหัดท้ายบท
การใช้กระบวนการกลุ่ม
ตัวอย่าง หากนักเรียนไม่สนใจในการเรียน ครูให้นักเรียนทำงานกลุ่ม เพื่อรับผิดชอบร่วมกัน
การเข้าไปใกล้
ตัวอย่าง ครูเดินเข้าไปใกล้ผู้เรียนที่กำลังคุยกัน โดยไม่ต้องใช้คำพูด
ให้ทางเลือกแก่ผู้เรียน
ตัวอย่าง ครูมองตาผู้เรียนที่คุยกันเสียงดัง
ให้กิจกรรมเลื่อนไหลต่อเนื่อง
ตัวอย่าง ผู้เรียนลุกจากที่นั่ง ซุกซน คุยกัน เล่นสนุกสนาน ในขณะรอที่จะเรียน
การใช้การสื่อสาร ครู-รู้สึก
ตัวอย่าง "ขณะครูสอนนักเรียนพูดแทรกโดยไม่ได้ขออนุญาต ครูรู้สึกรำคานและไม่สบายใจ"
ดำเนินการสอนใหม่
ตัวอย่าง หากผู้เรียนไม่ทำงานที่ได้รับ มอบหมาย ทำให้ผู้เรียนไม่เข้าใจในแบบฝึกหัด ครูต้องทำการสอนใหม่
ปัญหาพิเศษ
การทะเลาะวิวาท
ส่วนใหญ่การทะลาะวิวาทเกิดในผู้เรียนระดับมัธยม
หากเกิดการทะเลาะวิวาท ครูจะต้องยับยั้ง ห้ามปราม ก่อนที่จะเกิดการบาดเจ็บ
พฤติกรรมก้าวร้าวอื่นๆ
การด่า
การพูดและแสดงอาการขมขู่
แสดงอาการหยาบคายต่อผู้เรียนคนอื่น ๆ
ตบหน้า
การผลักดันคนอื่นในลักษณะที่เล่นจริง
การหลีกเลี่ยงงานประจำ
ครูควรแก้ไขตั้งแต่เริ่มต้น
ถ้าพบว่่าผู้เรียนไม่ทำเพราะทำไม่ได้ ครูต้องอธิบายให้เขาเข้าใจ เพื่อให้ทำแบบฝึกหัดข้อนั้นได้
การแสดงอาการหยาบคายต่อผู้สอน
ครูควรบอกให้ผู้เรียนทราบว่าพฤติกรรมที่ผู้เรียนแสดงนั้นไม่เป็นที่ยอมรับ
นัสรีพูดหยาบคายใส่เพื่อน
ครูควรชี้ให้เห็นกฎทั่วไปของห้องเรียน
การยอมรับนับถือคนอื่น
การท้าท้ายหรือแสดงพฤติกรรมก้าวร้าวต่อครู
การท้าท้ายหรือแสดงพฤติกรรมก้าวร้าวต่อครู
ครูต้องแสดงอาการหนักแน่น จริงจัง
ถ้านัสรีไม่ฟังที่ครูพูด ครูจะให้เธอออกจากห้องไป
การพูดมาก
ครูตักเตือนนักเรียนที่พูด
ครูตั้งกฎในชั้นเรียน
ข้อเตือนใจประเด็นสุดท้าย : คิดและปฏิบัติอย่างสร้างสรรค์
ครูต้องอธิบายให้ชัดเจนถึงพฤติกรรมที่พึ่งประสงค์ควบคู่กันไปด้วย
การลงโทษที่ไม่ช่วยผู้เรียนเปลี่ยนพฤติกรรมไปในทางที่พึ่งประสงค์
ห้องเรียนที่เน้นการลงโทษจะทำให้เสียบรรยากาศ
บทสรุป
สถานที่ควรกำหนดมาตรการดำเนินการกับพฤติกรรมไม่เหมาะสมทั้งที่รุนแรงและพฤติกรรมที่เป็นปกติ
การพูดจาไม่สุภาพ
การลักขโมย
การทะเลาะชกต่อย
ครูควรศึกษาและวิจัยหามาตรการทางเลือกเพื่อแก้ปัญหาที่มีความรุนแรงในระดับต่างๆ
กล่าวถึงกลยุทธ์ที่มีประโยชน์ในการจัดการพฤติกรรมที่เป็นปัญหา
สมาชิกในกลุ่มที่ 5
นางสาวนุษรา เหล็บหนู 6120160411 เลขที่ 14
นางสาวนูรอัยนี มามะ 6120160412 เลขที่ 15
นางสาวพาอีซะห์ วาจิ 6120160429 เลขที่ 23
นางสาวฟารีดา ลาเตะ 6120160431 เลขที่ 25