Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการบริหาร 4 แนวคิด (การบริหารแบบดั้งเดิม-ใหม่ Neo- Classical…
ทฤษฎีการบริหาร 4 แนวคิด
การบริหารสมัยดั้งเดิม
The classical organization approach
กำหนดกระบวนการบริหารอย่างมีเหตุผลและทุกคนต้องทำตามเหมือนกัน
การจัดการเชิงวิทยาศาสตร์
Scientific Management
Frederick Winslow (บิดาการจัดการแบบวิทยาศาสตร์)
มองคนเปรียบเสมือนเครื่องจักรสามารถพัฒนาและเพิ่มผลผลิตได้
"คนที่ทำงานมากต้องได้รับค่าตอบแทนมาก"
Frank Bunker Gilbreth and Lilian M.Gilbreth
ให้ความสำคัญกับคน เวลา เครื่องมือใช้ในการทำงาน
Henry L.Gantt
พัฒนาระบบการจ่ายค่าตอบแทนขั้นต่ำ
Harrington Emerson
การจัดการที่เป็นระบบทำให้องค์กรลดความสิ้นเปลือง ทำงานง่ายและเหมาะสม
แนวคิดทฤษฎีการบริหาร
Administration Theory
Henry F. Fayol
(บิดาแห่งทฤษฎีบริหาร)
แนวคิดหลักการกและหน้าที่
อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบแยกจากกันไม่ได้
มีจุดมุ่งหมายร่วมกันการดำเนินงานไปใในทิศทางเดียวกัน
การจ่ายผลประโยชน์ค่าตอบแทนที่เป็นธรรม
หลักเกี่ยวกับระเบียบวินัย
การแบ่งแยกการทำงานตามความถนัด
เปิดโอกาสให้ผู้น้อยได้ใช้ความคิดริเริ่ม
การถือประโยชน์ส่วนบุคคลเป็นรองจากประโยชน์ส่วนรวม
หลักความสามัคคี
สายการบังคับบัญชาจากระดับสูงและต่ำเกิดระเบียบส่งทอดข้อมูลกัน
การมีผู้บังคับบัญชาเพียงคนเดียวไม่ให้เกิดความสับสนจากการรับคำสั่ง
ยึดถือหลักความเสมอภาค
แสดงให้เห็นถึงอนาคตแลความมั่นคงจะทำให้มีพลังสร้างสรรค์ทำงานให้องค์กร
การรวมอำนวจไว้ส่วนกลาง
มีระเบียบเรียบร้อย
๋James D. Miiney and Alen C.Reiley
องค์กรเป็นความหลากหลาย ต้องร่วมมือกันทำงานให้สำเร็จ
ทั้งแนวตั้งและแนวนอน หลักผลกระทบจากหน้าที่ทั้งด้านบวกและลบ
Lyndall Urwick and Luther Gulick
เสนอหลักบริหาร POSDCoRB
P : Planning การวางแผน
ศึกษาสภาพปัญหา รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ กำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมาย
O : Organizing การจัดการองค์กร จัดรูปแบบโครงสร้างการบริหารอย่างชัดเจน
S : Staffing จัดบุคคลากร/จัดบุคคลทำงาน
ใช้คนทำงานที่ดีที่สุด เวลาสั้น สิ้นเปลืองทรัพยากรน้อยคนมีความสุข
D: Directing อำนวยการ/สั่งการ
การวินิจฉัยสั่งการเป็นไปตามแผนและเป้าหมาย
Co : Co-ordinating การประสานงาน
การประสานงานที่ทุกคนร่วมมือกัน มีประสิทธิภาพสูงสุด
B : Budgeting การจัดงบประมาณ
กำหนดและควบคุมค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าหมาย
R : Reporting การรายงาน
การนำเสนอการปฏิบัติงานทำให้ทราบความเคลื่อนไหวขององค์กร
ทฤษฎีระบบราชการ
Bureaucracy Theory
Max Weber ผู้บริหารมีหน้าที่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมคนทำงานให้สามารถเข้ากันได้
อำนวยการสั่งงานและควบคุมตามสายบังคับบัญชา
ทุกคนยึดมั่นในกฏ
แบ่งงานกันทำตามความชำนาญ
ตำแหน่งสูงขึ้น อำนาจและความรับผิดชอบสูงขึ้น
ระยะเวลาในการทำงานแสดงถึงความมั่นคงในอาชีพ
อำนาจหน้าที่ตามโครงสร้างองค์กร
ผู้บริหารยึดหลักเหตุผลในการบริหารคน
การบริหารแบบดั้งเดิม-ใหม่
Neo- Classical organization approach
Abrahum H.Maslow
จัดอันดับขั้นความต้องการของมนุษย์เน้นสร้างแรงจูงใจ
Hugo Munsterberg (บิดาด้านจิตวิทยาอุตสาหกรรม)
กำหนดงานให้เหมาะกับคน
เงื่อนไขการทำงานเหมาะสมกับคนต่อด้านจิตใจ
แนะนำกลยุทย์ในการทำงานแก่พนักงาน
Douglas McGregor
ทฤษฎี X Y คนจึงควรควบคุมตนเองได้ ปรับปรุงองค์กรด้วยเรื่องต่างๆ
ทฤษฎี X คนไม่ชอบทำงาน ต้องบังคับ สั่งการ ต่อต้านการเปลี่ยนแปลง ต้องการแรงจูงใจในด้านการเงิน ความมั่นคง
ทฤษฎี Y คนสามารถเรียนรู้และควบคุมการทำงานให้บรรลุผลได้ขึ้นอยู่กับขนาดรางวัลของผลสำเร็จ
Elton Mayo ปัจจัยที่มีผลต่อการทำงาน
กลุ่มทำงานขนาดเล็ก
หัวหน้าดูแลเอาใจใส่
ค่างจ้างเพิ่ม
**คนงานมีคาวมพอใจที่ได้ร่วมงานกับคนที่ต้องการ
Frederick Herzberg
มีปัจจัยที่ทำให้คนพอใจหรือไม่พอใจในงาน
ปัจจัยสร้างความพอใจ (แรงจูงใจ)
โอกาสการได้รับการยอมรับ
ความรับผิดชอบ
ความก้าวหน้า
การเติบโต
สภาพเงื่อนไขในการทำงวาน
ปัจจัยที่ทำให้ไม่พอใจ (ปัจจัยอนามัย)
นโยบายองค์กรและการบริหาร
การดูแลจากหัวหน้า
ความสัมพันธ์กับหัวหน้างาน
ความสัมพันธ์ในระดับเดียวกัน
ความสัมพันธ์ผู้ใต้บังคับบัญชา
เงินเดือน
แนวคิดสมัยใหม่
Modern approach
Mary Parker Follett
การประสานงานหรือการสร้างความร่วมมือต้องทำอย่างต่อเนื่อง ดังนี้
วางแผนการประสานงาน
ติดต่อสื่อสารกับผู้บังคับบัญชาที่มีอำนาจโดยตรง
สร้างความสัมพันธ์ในการทำงานร่วมกัน
Chester I. Barnaed
มองคนในองค์กรทั้งระบบ ผู้สัมพันธ์ร่วมมือกัน เกิดจุดมุ่งหมายเดียวกัน
W. Edward deming การบริหารคุณภาพโดยรวม
เน้นความสนใจที่ลูกค้า
การปรับปรุงคุณภาพอย่างต่อเนื่อง
มาตรฐานการวัดที่ถูกต้อง
ให้อำนาจพนักงาน
การมุ่งสู้ความเป็นเลิศ
มุ่งการกระทำให้สำเร็จตามเป้าหมาย
มีอิสระ ใกล้ชิดลูกค้า
เพิ่มผลการผลิต อาศัยคน ให้เกียรติ และเห็นคุณค่า
วิธิการง่ายๆ ให้ทุกคนร่วมแสดงความเห็น
ทำในสิ่งที่ถนัด
โครงสร้างองกรค์อย่างง่าย พนักงานน้อย
เข้มงวดและยืดหยุ่นให้เหมาะสม
แนวคิดเชิงสถานการณ์
Contingency theory
องค์กรต้องมีความคิดริเริ่ม ปรับปรุง พัฒนาเพื่อรับรู้สิ่งใหม่หาจุดเด่นเพื่อปรับตัวตามสภาพแวดล้อม
Tom Burns and G.M.Stalker
แยกองค์กรเป็น 2 แบบ
องค์กรเสทอนมีชีวิต สามารถติดต่อสื่อสาร มีการตัดสินใจ กระจายอำนาจ ให้ความสนใจปัจจัยภายนอกมากกว่าภายใน
องค์กรเสมือนเครื่องจักร ไม่สนใจสภาพความเป็นอยู่ไม่มีการกระตุ้นจูงใจ มีความเข้มงวด
Paul R.Lawrence and Jay W.Lorsch's
เมื่อสถานการณ์เปลี่ยนแปลง องค์กรต้องออกแบบโครงสร้างใหม่ให้เหมาะสมกับสถานการณ์นั้น
แนวคิดตามสถานการณ์
ช่วยให้ผู้บริหารขยายแนวคิดวิธีการบริหารที่เหมาะสมกับสถานการณ์
หากผู้บริหารยึดติดมากเกินไปจะเกิดข้อผิดพลาด
ไม่ใช่การเปลี่ยนแนวคิดการบริหารแบบดั้งเดิม แต่เป็นการเสริมให้ดีขึ้น
นางพิชญา สานต๊ะ นศ.พยบ.รุ่นที่ 28 รหัส 602401049