Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงในผู้สูงอายุ (การเปลี่ยนแปลงในวัยของวัยสูงอายุ…
บทที่ 2
การเปลี่ยนแปลงในผู้สูงอายุ
ความซับซ้อนและลักษณะทางคลินิกที่แตกต่างจากทุกวัย
RAMPS
Goal : Well being and Independence
(คุณภาพชีวิตดี และพึ่งคนอื่นน้อยลง)
R : Reduced body reserve
(พลังสำรองของร่างกายลดลง)
A : Atypical presentation
(มีอาการแสดงแตกต่างจากวัยอื่นๆ)
M : Multiple pathology
(การมีหลายโรคในคนคนเดียว)
P : Polypharmacy
(ได้รับยาหลายขนาน)
S : Social adversity
(ช่วยเหลือตนเองได้น้อย ภาวะพึ่งพาสูง)
Geriatric Rings
วงแหวนของความสูงอายุ
Urinary
Incontinence :
กลั้นปัสสาวะ
ไม่ได้
Impaired
homeostasis :
เสียสมดุลร่างกาย
Confusion :
สับสน
Iatrogenic
disorders :
ผลข้างเคียง
จากการรักษา
Falling :
หกล้ม
ปัญหาสำคัญของผู้สูงอายุ
Giant Geriatric Problem
Insanity or Confusion :
ภาวะสับสน
Incontinence :
การกลั้นปัสสาวะหรืออุจจาระไม่ได้
Immobility :
การเคลื่อนที่ไม่ได้
Instability (Falls) :
ภาวะไม่มั่นคงในการทรงตัว
Inability :
ภาวะทุพพลภาพหรือการไร้สมรรถภาพ
Iatrogenesis :
ผลข้างเคียงจากการดูแลรักษา
การดูแลผู้สูงอายุ
เป้าหมาย :
การส่งเสริมการทำหน้าที่ของร่างกาย
ลดความเสื่อมถอยของการทำหน้าที่
การส่งเสริมพัฒนาการและการปรับตัว
ช่วยให้ผู้สูงอายุได้มีโอกาสพบปะสังสรรค์กับญาติใกล้ชิดและเพื่อนร่วมวัยเดียวกันบ้าง
ที่พักอาศัย หากผู้สูงอายุต้องการแยกบ้านอยู่หรือไปอยู่สถานที่ที่รัฐจัดให้ก็ควรตามใจแต่ไม่ควรห่างไกลมาก เพื่อความสะดวกในการไปเยี่ยมเยียน
เอาใจใส่ดูแลเรื่องอาหารและการออกกำลังกายของผู้สูงอายุ
ชักชวนพูดคุยและรับฟังถึงส่วนดี หรือเหตุการณ์ประทับใจในอดีตของผู้สูงอายุ ทำให้ผู้สูงอายุรู้สึกว่ายังมีคนชื่นชมในชีวิตของตนอยู่
ส่งเสริมและอานวยความสะดวกให้ผู้สูงอายุทำกิจกรรมที่สนใจต่างๆ ตามความเหมาะสม
ให้ความเคารพยกย่องและนับถืออย่างสม่ำเสมอ
ให้อภัยในความหลงลืมและความผิดพลาดที่ผู้สูงอายุกระทำและควรแสดงความเห็นอกเห็นใจที่เหมาะสม
ระมัดระวังคำพูดหรือการกระทำที่แสดงออกต่อผู้สูงอายุ
รัฐควรจัดบริการทางสังคมต่างๆ เช่น บริการทางการแพทย์ บริการสถานสงเคราะห์ผู้สูงอายุและอื่นๆ
ช่วยให้ผู้สูงอายุรู้สึกว่าตนยังมีคุณค่า มีความสำคัญและมีความหวังในชีวิต
การเปลี่ยนแปลงในวัยของวัยสูงอายุ
การเสื่อมถอยทางด้านร่างกาย และสรีระวิทยา
3. ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก
จำนวนและขนาดเส้นใยของกล้ามเนื้อลดลง
การหดตัวของกล้ามเนื้อลดลง และใช้เวลานานขึ้นทำให้การเคลื่อนไหวในลักษณะต่างๆ ช้าลง
การเกิดข้อเสื่อม
4. ระบบการไหลเวียนเลือด
กล้ามเนื้อหัวใจฝ่อลีบ
ขนาดของหัวใจเล็กลงหรือโตขึ้น
ผนังของหัวใจห้องล่างซ้าย จะหนาขึ้น
ลิ้นหัวใจแข็งและหนา
เกิดภาวะลิ้นหัวใจรั่วและตีบ
ประสิทธิภาพการทำงานของหัวใจลดลง
5. ระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบภูมิคุ้มกันทำงานลดลง ทำให้เกิดการติดเชื้อได้ง่าย
6. ระบบทางเดินหายใจ
หลอดลมและปอดมีขนาดใหญ่ขึ้น
ความยืดหยุ่นของเนื้อปอดลดลง
กล้ามเนื้อหายใจทำงานลดลง
การเคลื่อนไหวของกระดูกซี่โครงลดลง
เยื่อหุ้มปอดแห้งและทึบ
ถุงลมมีจำนวนลดลง แต่มีขนาดใหญ่ขึ้น ทำให้ผนังถุงลมแตกง่าย
อาจเกิดโรคถุงลมโป่งพอง
ประสิทธิภาพการไอลดลง เกิดการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจได้ง่าย
การทำงานของฝาปิดกล่องเสียงเลวลง เกิดอาการสำลักและเกิดโรคปอดบวมได้ง่ายขึ้น
7. ระบบทางเดินอาหาร
ฟันไม่แข็งแรง เคลือบฟันบางลงแตกง่าย
การผลิตเอนไซม์และน้ำลายจะลดลง ทำให้การย่อยแป้งและน้ำตาลในปากลดลง
การรับรสของลิ้นเสียไป เกิดภาวะเบื่อมากขึ้น
2. ระบบประสาทและประสาทสัมผัส :
เซลล์สมองและเซลล์ประสาทลดลง น้ำหนักสมองลดลง
การทำงานของสมอง และประสาทอัตโนมัติลดลง ทำให้ความไวและความรู้สึก ตอบสนองต่อปฏิกิริยาต่างๆลดลง
การเคลื่อนไหวและความคิดเชื่องช้า
ความจำเสื่อมโดยเฉพาะเรื่องราวใหม่ๆ
การวิเคราะห์ การคำนวณในด้านต่างๆ เสื่อมลง
เวลานอนน้อยลง เวลาตื่นมากขึ้น
ความวิตกกังวลในเรื่องต่างๆสูงขึ้น
ระดับ epinephrine ลดลง ทำให้มีอาการ
ซึมเศร้า
ระดับ dopamine ลดลง ทำให้เกิดพาร์กินสัน
มองเห็นในสถานที่ต่างๆไม่ดี
ผู้สูงอายุจะสามารถแยกสีแดง สีส้ม และสีเหลืองได้ดีกว่าสีน้ำเงิน สีม่วง สีเขียว
การได้ยินลดลง หูตึง
เยื่อบุโพรงจมูกเสื่อม ดมกลิ่นได้ไม่ดี
การรับรสของลิ้นเสียไปเนื่องจากต่อมรับรสมีจานวนลดลง
การรับรสหวานจะสูญเสียก่อนรสเปรี้ยว รสขม และรสเค็ม ทำให้ผู้สูงอายุรับประทานอาหารรสจัดขึ้น
8. ระบบทางเดินปัสสาวะและระบบสืบพันธุ์
ขนาดของไตลดลง
ผนังหลอดเลือดแดงที่ไปเลี้ยงไตแข็งตัวทำให้การไหลเวียนเลือดในไตลดลง
การทำงานของท่อไตลดลง
ผู้ชาย
ต่อมลูกหมากจะโต ผลิตสารคัดหลั่งได้
น้อยลง ทำให้ถ่ายปัสสาวะลำบากต้องถ่ายบ่อยครั้ง
ผู้หญิง
รังไข่จะฝ่อเล็กลง มดลูกมีขนาดเล็กลง เยื่อบุภายในมดลูกบางลง มีเนื้อเยื่อพังผืดมากขึ้น ปากมดลูกเหี่ยว และขนาดเล็กลง ไม่มีเมือกหล่อลื่น ช่องคลอดแคบและสั้นลง
การกลั้นปัสสาวะไม่ได้
1. ระบบผิวหนัง :
ผิวหนังบาง เซลล์ผิวหนังมีจำนวนลดลงและเจริญช้า ทำให้การหายของแผลช้าลง ความยืดหยุ่นของผิวหนังไม่ดี
9. ระบบต่อมไร้ท่อ
น้ำหนักของต่อมใต้สมองลดลง
การไหลเวียนเลือดที่ต่อมใต้สมองลดลง
การผลิตฮอร์โมนต่างๆน้อยลง
พัฒนาการทางด้านสังคม
การมีเวลาว่างมากขึ้น แต่จะมีข้อจำกัดในการมีสัมพันธภาพกับผู้อื่น
บทบาททางสังคมลดลง
มีความสนใจตนเองเพิ่มขึ้น จะสนใจบุคคลอื่นลดลง
พัฒนาการทางด้านอารมณ์
เป็นวัยที่ต้องปรับตัวต่อโลกภายนอกและปรับตัวต่อการสูญเสียภายใน มักจะหวาดกลัวความเจ็บไข้ได้ป่วย กลัวความตาย กลัวความสูญเสียเพื่อน
เป็นวัยที่มีความสงบเยือกเย็น หมดความกระตือรือร้นในชีวิต ต้องการความสงบ ต้องการพักผ่อน
ผู้สูงอายุมักจะยึดถือตนเองเป็นเป็นส่วนใหญ่
ชอบแต่เรื่องความคิดสมัยตนเอง
เข้ากับบุคคลในวัยอื่นๆได้ยาก
อ้างว้าง
ถ้าถูกทอดทิ้ง หรือปล่อยให้อยู่ตามลำพังสามีภรรยา ถือว่าเป็นการสูญเสียทางใจ เกิดอารมณ์เศร้า
มีความรู้สึกหมดแรงหมดกำลังใจ เบื่ออาหาร ใจสั่น ไม่มีแรง หงุดหงิด ใจน้อย นอนไม่หลับ
พัฒนาการทางด้านสติปัญญา
สมองฝ่อ เลือดมาเลี้ยงสมองน้อยลง
เซลล์ประสาทตายเพิ่มขึ นจ านวนเซลล์ลดลงตามอายุ ทำให้สมองเสื่อม ความจำเสื่อมโดยเฉพาะความจำในเหตุการณ์ปัจจุบัน แต่จำอดีตได้ดี
ความคิดอ่านเชื่องช้าลง ความคิดไม่ยืดหยุ่น
วิกฤติของวัยสูงอายุ
1.ปัญญาสุขภาพ ระบบต่างๆของร่างกายเสื่อม ทา
ให้เกิดโรคได้หลายชนิด
ปัญหาเศรษฐกิจ
ปัญหาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงบทบาททางสังคม ทำให้เกิดความรู้สึกสูญเสียอำนาจ ทำให้ผู้สูงอายุรู้สึกมีคุณค่าลดลง เข้าไปมีบทบาทภายในบ้านได้น้อยลง
การสูญเสีย ความเศร้าโศก
น.ส.ปาจารีย์ วิเศษศักดิ์ UDA6280124