Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความสําคัญของโภชนาการต่อ สุขภาพและการคํานวณปริมาณ และ พลังงานสารอาหาร…
ความสําคัญของโภชนาการต่อ สุขภาพและการคํานวณปริมาณ และ พลังงานสารอาหาร
ความหมายและความสําคัญของโภชนาการต่อสุขภาพ
ความหมายของอาห ารและโภชนาการ
อาหาร (Foods) ตามพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 หมายถึง สิ่งใดก็ตามที่รับเข้าสู่ร่างกาย โดยวิธีการดื่ม การกิน หรือการฉีด
โภชนาการ (Nutrition) หมายถึง กระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับระบบการ เปลี่ยนแปลง ทางเคมีของอาหารในร่างกายของ สิ่งมีชีวิต
ความหมายขอ
งสารอาหาร
สารอาหาร (Nutrients) เป็นสารเคมีที่ได้จาก อาหาร มีความสําคัญและจําเป็นต่อร่างกาย เพื่อการเจริญเติบโตในวัยทารกและวัยเด็ก และรักษาคงไว้ซึ่งสภาพและหน้าที่ของร่างกาย ในวัยผู้ใหญ่
สารที่ไม่ใช่สารอาหาร (Non nutrients) เป็นสาร ที่ได้จากอาหารแต่ไม่ใช่สารอาหาร บางชนิด มี ประโยชน์ต่อร่างกาย ชนิดขัดขวางการดูดซึมของ สารอาหารในร่างกาย บางชนิดเป็นโทษต่อ ร่างกาย
ความหมายของภาวะโภชนาการ
ภาวะโภชนาการดี
ภาวะโภชนาการไม่ดี
ภาวะโภชนาการขาด (Under nutrition) เป็นภาวะ ที่ได้รับสารอาหารชนิดใดชนิด หนึ่งหรือหลายชนิด ไม่เพียงพอต่อความต้องการ เช่น PEM ,Iron deficiency
ภาวะโภชนาการเกิน (Over nutrition) เป็นภาวะที่ ร่างกายได้รับสารอาหารชนิด ใดชนิดหนึ่ง หรือหลาย ชนิดมากเกินความต้องการ เช่น obesity
ความสําคัญของโภชนาการกับสุขภาพ
ด้านสุขภาพกาย อาหารทําให้ร่างกายเจริญเติบโต ความสูงขึ้นอยู่กับพันธุกรรมและการ รับประทาน อาหาร
ด้านสุขภาพกาย อาหารทําให้ร่างกายเจริญเติบโต ความสูงขึ้นอยู่กับพันธุกรรมและการ รับประทาน อาหาร
การคํานวณอาหารแลกเปลี่ยนและพลังงานจากอาหารแลกเปลี่ยน
หมวดผัก
ประเภทกมีพลังงานและสารอาหารน้อยมากโดย ผัก1ส่วนประกอบด้วยผักสุก 1/2ถ้วยตวงหรือ 70 กรัมหรือเป็นผักดิบ 3/4 - 1 ถ้วยตวง หรือ 70 กรัม
ประเภท ข มีคุณค่าทางโภชนาการ โดยผัก 1 ส่วน ประกอบด้วย ผักสุก 1/2 ถ้วยตวง หรือ 70กรัม หรือ เป็นผักดิบ 3/4 - 1 ถ้วยตวง หรือ 70 กรัม ให้ คาร์โบไฮเดรต 5 กรัม โปรตีน 2 กรัม พลังงาน 25(28) กิโลแคลอรี
หมวดผลไม้
ผลไม้ 1 ส่วน ให้คาร์โบไฮเดรต 15 กรัม พลังงาน 60 กิโลแคลอรี
หมวดเนื้อสัตว์
ประเภทที่ 1 เนื้อสัตว์ไขมันตำ่มาก (Very lean meat) เนื้อสัตว์ 1 ส่วน มีโปรตีน 7 กรัม และไขมัน 0-1 กรัม ให้พลังงาน 35 กิโลแคลอรี
ประเภทที่ 2 เนื้อสัตว์ไขมันตำ่(Lean Meat)เนื้อ สัตว์1ส่วน มีโปรตีน 7 กรัม และไขมัน 3กรัม ให้ พลังงาน 55 กิโลแคลอรี
ประเภทที่ 3 เนื้อสัตว์ไขมันปานกลาง (Medium fat meat) เนื้อสัตว์ 1 ส่วน มีโปรตีน 7 กรัม และไข มัน 5 กรัม ให้พลังงาน 75 กิโลแคลอรี
ประเภทที่ 4 เนื้อสัตว์ไขมันสูง (High fat meat) เนื้อสัตว์ 1 ส่วน มีโปรตีน 7 กรัม และ ไขมัน 8 กรัม ให้พลังงาน 100 กิโลแคลอรี
หมวดไขมันหรือน้ำมัน
ไขมัน 1 ส่วน ให้ไขมัน 5 กรัม และพลังงาน 45 กิโลแคลอรี ซึ่งจําแนกออกตามประเภทของ กรด ไขมัน
กรดไขมันไม่อิ่มตัวตําแหน่งเดียว (MUFA)
กรดไขมันไม่อิ่มตัวหลายตําแหน่ง (PUFA)
กรดไขมันอิ่มตัว (SFA)
หมวดข้าว-เเป้ง
อาหารในหมวดนี้มีคุณค่าทางโภชนาการโดย เฉลี่ย คือ คาร์โบไฮเดรต 18 กรัม โปรตีน 2 กรัม พลังงาน 80 กิโลแคลอรี
หมวดนม
นมธรรมดาหรือนมครบส่วน (Whole milk)มี คุณค่าทางโภชนาการ คือคาร์โบไฮเดรต 12 กรัม โปรตีน 8 กรัม ไขมัน 8 กรัม พลังงาน 150 กิโล แคลอรี
นมพร่องมันเนย (Low fat milk)มีคุณค่าทาง โภชนาการ คือ คือ คาร์โบไฮเดรต 12 กรัม โปรตีน 8 กรัม ไขมัน 5 กรัม พลังงาน 120 กิโล แคลอรี
นมขาดมันเนย (Non-fat milk หรือ Skim milk)มีคุณค่าทางโภชนาการ คือ คาร์โบไฮเดรต 12 กรัม โปรตีน 8 กรัม ไขมัน 0-3 กรัม พลังงาน 90 กิโลแคลอรี
การคํานวณปริมาณและพลังงานจากสารอาหาร
ปริมาณพลังงานที่ควรได้รับในแต่ละวัน
การกําหนดความต้องการของพลังงานและสาร อาหารที่ควร ได้รับตามคําแนะนําของปริมาณสาร อาหารที่ควรได้รับประจําวัน ( Thai Recommended Daily Intakes ;Thai RDI) คน ไทยที่มีอายุตั้งแต่ 6 ปีขึ้นไป มีความต้องการ พลังงานวันละ 2,000 กิโลแคลอรี
วิธีการคํานวณพลังงาน
คํานวณพลังงานจากน้ําห นักตัวและระดับกิจกรรม
ความต้องการพลังงาน = น้ําหนักตัว x ระดับ กิจกรรม
คํานวณพลังงานที่ร่างกายต้องการในแต่ละวันสํ
าหรับการดํารงชีวิต Metabolic Rate; BMR)
BMR สําหรับเพศชาย= 66.5 + (13.7 x น้ําหนักตัว (กิโลกรัม) ) + (5 x ส่วนสูง (เซนติเมตร))- (6.8 x อายุ) BMR สําหรับผู้หญิง = 655 + (9.6 x น้ําหนักตัว (กิโลกรัม)) + (1.8 x ส่วนสูง (เซนติเมตร))- (4.7 x อายุ)
คํานวณพลังงานจากน้ําหนัก
ความต้องการพลังงานสําหรับเพศชาย นิยมคํานวณที่ ค่า 31
ความต้องการพลังงานสําหรับเพศหญิง นิยมคํานวณที่ ค่า 27
คํานวณพลังงานท่ีใช้ในแต่ละวัน (Total Daily Energy Expenditure; TDEE)
การคํานวณความต้องการพลังงานที่ใช้ในแต่ละวัน หรือ TDEE ให้นําค่า BMR มาคูณกับแฟคเตอร์ระดับกิจกรรม 1) นั่งทํางานอยู่กับที่ และไม่ได้ออกกําลังกายเลยหรือออ กกําลังกายน้อยมาก =BMR x 1.2 2) ออกกําลังกายหรือเล่นกีฬาเล็กน้อย 1-3 วัน/สัปดาห์ เดินบ้างเล็กน้อย ทํางาน ออฟฟิศ=BMR x 1.375 3)ออกกําลังกายหรือเล่นกีฬาเล็กปานกลาง3-5วัน/ สัปดาห์เคลื่อนที่ตลอดเวลา= BMRx 1.725 4) ออกกําลังกายหรือเล่นกีฬาเล็กอย่างหนัก หรือเป็นนัก กีฬาทํางานใช้แรงงานมาก = BMR x 1.9
ชนิดเเละคุณค่าของสารอาหรที่จำเป็นต่อร่างกาย
3.ไขมัน (Lipid)
การจําแนกไขมันตามบทบาทและหน้าที่ในร่างกาย
ฟอสฟอลิปิด (phospholipids) เป็นส่วนประกอ บที่สําคัญของเมมเบรนของเซลล์ต่างๆ
โคเลสเตอรอล(cholesterol) เป็นไขมันที่พบในอาหาร ประเภทสัตว์ไม่พบในอาหาร ประเภทพืช แต่พืชจะมี สารประกอบไฟโตสเตอรอล (phytosterol)
ไตรกลีเซอไรด์(triglycerides; TG) เป็นไขมันที่บริโภค มากที่สุด ถ้าอยู่ในรูปของแข็ง เรียก “ไขมันแข็ง (fats)” อยู่ในรูปของเหลว “น้ํามัน (oil)”
หน้าที่และค
วามสำคัญ
ให้พลังงานแก่ร่างกายที่สูงที่สุดคื อ 9 แคลอรีต่อ 1 กรัมของไขมัน
ช่วยป้องกันการกระเทือนข
องอวัยวะภายในร่างกาย
ช่วยในการดูดซึมของวิต ามินที่ละลายในไขมัน
วิตามิน (Vitamins)ห มวดเนื้
วิตามินที่ละลายในไขมัน (fat-soluble vitamin
วิตามินบี
วิตามินอี
วิตามินเอ
วิตามินเค
วิตามินที่ละลายในน้ํา (w ater-soluble vitamin)
ไนอาซิน(วิ ตามินบี3
กรดแพนโทเทนิ ก(วิตามินบี 5)
วิตามินบี2
วิตามินบี 6
วิตามินบี1
ไบโอติน(วิตามินบี 7)
โฟเลต(วิตามินบี9
วิตามินบี 12
วิตามิ นซี
2.โปรตีน (Protein)
หน้าที่และค
วามสำคัญ
ให้พลังงาน โปรตีน 1 กรัมให้พ ลังงาน 4 กิโลแคลอรี ร่างกาย
รักษาสมดุลกรดด่ างของร่างกาย
จําเป็นต่อการ เจริญเติบโต
ควบคุมการทํางานต่างๆ ของร่างกาย
การจําแนกชนิดของโปรตีน
โปรตีนสมบูรณ์ ประกอบด้วยกรดอะมิโนจําเป็นแก่ร่างกายครบทุกชนิด ได้แก่โปรตีนที่มีอยู่ในเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์จากสัตว์
โปรตีนไม่สมบูรณ์ ประกอบด้วยกรดอะมิโนจําเป็นต่อ ร่างกายไม่ครบทุกชนิด ส่วนใหญ่โปรตีนที่พบในพืชเป็น โปรตีนที่ไม่สมบูรณ์
1.คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate)
จําแนกชนิดคาร์โบไฮเดรตตามขนาดโมเลกุล
ไดแซคคาไรด์(disaccharide)
ซูโค รส
แล็กโทส
โมโนแซคคาไรด์(monosaccharide
กลูโ คส
กาแล็กโทส
กลูโ คส
โอลิโกแซคคาไรด์ (oligosaccharide
โพลีแซคคาไรด์(p olysaccharide)
โพลีแซคคาไรด์ชนิดที่ย่อยได้
ไกลโคเจน
เเป่ง
โพลีแซคคาไรด์ ชนิดที่ย่อยไม่ได้
หน้าที่เเละความสำคัญ
ช่วยให้การเผาผลาญไขมันใ นร่างกายเป็นไปตามปกติ
ช่วยร่างกายทําลายสารพิษ
สงวน คุณค่าของโปรตีนไว้ไ ม่ให้เผาผลาญเป็น พลังงาน
คาร์โบไฮเดรตในรูปเส้นใยอาหาร
ให้พลังงานแก่ร่างกาย คาร์โบไฮเด รต 1 กรัมให้พลังงาน4 กิโลแคลอรี
5.เกลือเเร่ (Minerais)
เกลือแร่ที่ร่างกายต้องการจํานวนมาก
โซเดียม (so dium; Na)
คลอไรด์ (chloride; Cl
โพแทสเซียม (p otassium; K)
แมกนีเซียม (magnesium; Mg)
ฟอสฟอรัส (ph osphorus; P)
กํามะถัน (sulfur; S)
แคลเซียม (c alcium; Ca
เกลือแร่ที่ร่างกายต้ องการจํานวนน้อย
ทองแดง (c opper; Cu)
สังกะสี (zinc; Zn)
โครเมียม (ch romium; Cr)
น้ํา (Water)
หน้าที่และความสําคัญ
เป็นส่วนประกอบของเซลล์แล ะเป็นส่วนประกอบของเลือด
ควบคุมอุณหภูมิขอ งร่างกายให้คงที่
ช่วยในการทํางานของเซลล์ และปฏิกิริยาชีวเคมีต่างๆ
เป็นสารหล่อลื่นในร่างกายป้องกั
นการเสียดสีของอวัยวะภายใน
ความต้องการน้ํ าของรรางกาย
ในแต่ละวันร่างกายสูญเสียน้ําประมาณ 1,450-2,800 มิลลิลิตร การเผาผลาญสารอาหารตามปกติประมาณวัน ละ 200-300 มิลลิลิตร ได้รับน้ําจากการดื่มน้ํา ประมาณ 500-1,500 มิลลิลิตร จากน้ําในอาหารที่รับประทาน 700-1,000 มิลลิลิตร จึงจะเกิดความ สมดุล