Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของการตั้งครรภ์ (Hyperemesis gravidarum (สาเหตุ…
ความผิดปกติของการตั้งครรภ์
Hyperemesis gravidarum
ความหมาย
สตรีตั้งครรภ์มีอาการอาเจียนอย่างมากหรือตลอดเวลา
ติดต่อกันยาวนานจนผ่านพ้นไตรมาสแรก
อาการ
dehydration
electrolyte imbalance
Weight loss
morning sickness
เริ่มมีอาการประมาณสัปดาห์ที่ 4-7รุนแรงมากที่สุดเมื่อ :red_flag:9-12 สัปดาห์ :check:จะหายไปเมื่ออายุครรภ์ 20 สัปดาห์
สาเหตุ
การเพิ่มระดับของ human chorionic gonadotropin(HCG) มีการสร้าง thyroxin เพิ่มขึ้น
การตั้งครรภ์ที่มีระดับ HCG (human chorionicgonadotropin) เพิ่มมากกว่าปกต
3.endocrine imbalance
ผลมาจากฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน
สภาพทางจิตสังคม
ทารกมีความผิดปกติ
Trisomy21 และ hydrops fetalis
พยาธิสรีรวิทยา
HCG กระตุ้น Chemoreceptor Trigger Zone ของ Fourth ventricleส่งกระแสประสาทไปศูนย์ควบคุมอาเจียน Vomiting center
ความวิตกกังวล Anxietyกระตุ้นCerebral Cortex และ Limbic systemก็ส่งกระแสประสาทไปศูนย์ควบคุมอาเจียน Vomiting centerทำให้อาเจียนตลอดเวลา สูญเสียน้้าและเกลือแรHypovolemia HypokalemiaAlkalosis
ทานอาหารไม่ได้เป็นเวลานาน ขาดพลังงานเผาผลาญอาหารสะสม เช่น ไขมัน เกิดKetonemia เกิดmetabolic acidosisของเสียคั่ง เช่น กรดยูริค ไนโตรเจน และยูเรีย
อาการ
อาเจียนต่อเนื่องเป็นเวลานานอาการแสดงขาดน้้า เช่น อ่อนเพลีย ผิวหนังแห้ง ชีพจรเบาเร็วน้้าหนักลดลมหายใจมีกลิ่นอะซิโตนตรวจพบคีโตนในปัสสาวะ
ระดับความรุนแรง แบ่งเป็น 3 ระดับ
อาการไม่รุนแรงหรือรุนแรงน้อย
อาเจียนน้อยกว่า 5 ครั้งต่อวัน
ไม่มีอาการขาดสารอาหาร
ท้ากิจวัตรประจ้าวันได้
อาการรุนแรงปานกลาง
อาเจียนติดต่อกันมากกว่า 5-10 ครั้งต่อวัน
ติดต่อกันไม่หยุดภายใน 2 -4 สัปดาห์
น้้าหนักตัวลด มีอาการขาดสารอาหาร
มีภาวะเลือดเป็นกรด
อาการรุนแรงมาก
ไม่สามารถท้ากิจวัตรได้
อาเจียนทันทีหลังรับประทานอาหาร ติดต่อกันเกิน 4 สัปดาห์
น้้าหนักลดมากขาดอาหารรุนแรง
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
น้้าหนักตัวลดลง
electrolyte imbalance
ภาวะกรดในร่างกาย (Ketoacidosis)
อาการหายใจเร็ว หอบเหนื่อย ซึม กระสับกระส่าย เพ้อ จ้าอะไรไม่ได้ ไม่รู้สึกตัว
หมดสติ (Korsakoff’s syndrome)
ผลกระทบต่อทารกในครรภ์
แท้งและคลอดก่อนกำหนด
IUGR
มีอาการทางสมองและตายคลอดได้
การวินิจฉัย
ซักประวัต
การตรวจร่างกายลมหายใจมีกลิ่นอะซิโตน Poor skin turgor
การตรวจทางห้องปฏิบัติการปัสสาวะมีความถ่วงจำเพาะสูง มีไข่ขาวในปัสสาวะเพิ่มขึ้น และมีคีโตนในปัสสาวะ (ketonuria)การตรวจเลือด : ความเข้มข้นเลือด, BUN, creatinine และเอนไซม์ของตับ เช่น SGOT, SGPT, bilirubin, ALT, AST เพิ่มขึ้น
การพยาบาล
วางแผนการให้อาหารแก่มารดา
การดูแลด้านจิตใจ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ไม่สุขสบายจากภาวะอาเจียนรุนแรง
เสี่ยงต่อภาวะขาดสารน้้าและอิเลคโตรไลท์เนื่องจากอาเจียนรุนแรง
การเจ็บครรภ์ก่อนกำหนด
ความหมาย
มีการหดรัดตัวของมดลูกสม่ำเสมอ
เกิดความบางตัวการขยายตัวของปากมดลูก
การเจ็บครรภ์คลอดก่อนอายุครรภ์ 37 wks. มดลูกหดรัดตัว 4 ครั้งใน 20 นาที หรือ 8 ครั้งใน 1 ชั่วโมง + Cx dilate ≥ 2cm./ Cx eff. ≥ 80%
วัด cervical length 20 ถึง < 30 mm. + ตรวจ fetal fibronectin ได้ผลpositive
threatened preterm labor
ภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อน 37 สัปดาห์ มีการหดรัดตัวของมดลูกสม่ำเสมออ 1 ครั้งทุก 10 นาที อย่างน้อย 30 นาที แต่ยังไม่มีการเปลี่ยนแปลงของปากมดลูก
สาเหตุ
ปัจจัยส่งเสริม
ประวัติทางสูติกรรมและนรีเวชกรรม
ปััจจัยเสี่ยงที่พบได้จากการคัดกรอง (screening)
ปัจจัยเสี่ยงที่พบได้จากอาการ
ปัจจัยเสี่ยงที่สามารถปรับแก้ไขได้
ผลกระทบ
ทารกเสียชีวิต
ทารกมีอาการแทรกซ้อน
ผิดปกติระบบประสาท ปัญญาอ่อน พัฒนาการช้า เจ็บป่วยบ่อย
ผลกระทบต่อครอบครัว เครียด เศรษฐกิจ
การวินิจฉัย
มดลูกหดรัดตัวสม่ำเสมอ 4 ครั้งใน 20 นาที หรือ 8 ครั้งใน 60 นาทีร่วมกับการเปลี่ยนแปลงของปากมดลูกอย่างต่อเนื่อง
ปากมดลูกเปิดเท่ากับ 1 เซนติเมตร หรือมากกว่า
ปากมดลูกบางตัวลงเท่ากับร้อยละ 80 หรือมากกว่า
การรักษา
ประเมินหาสาเหตุที่ชัดเจนในการวางแผนการรักษา
ประเมินอายุครรภ์และสภาวะของทารกในครรภ
การให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก (tocolytic drugs)
การรักษาตามสาเหตุ
การให้ยากระตุ้นการเจริญของปอดทารก
การให้ยาปฏิชีวนะในระยะคลอดกรณีที่ไม่สามารถยับยั้งการคลอดได้
การป้องกันการเกิด PTB
Bed rest
Hydration
Sedation
Antibiotic
Progesterone (ยังไม่พบหลักฐานสนับสนุนว่า มีผลดีจริง)
การใช้ยาเพื่อยับยั้งการคลอด
Beta – adrenergic drugs
ออกฤทธิ์กระตุ้น beta1 receptor ทำให้หัวใจเต้นเร็ว ทำให้กรดแลคติคคั่งและกระตุ้น beta2receptor ทำให้กล้ามเนื้อมดลูกคลายตัว หลอดลมขยาย หลอดเลือดขยาย ความดันโลหิตลดลงห้ามใช้ คน ควบคุมระดับน้ำตาลไม่ได้ซึ่งยาในกลุ่มนี้ได้แก่ Terbutaline (Bricanyl)
Calcium antagonist
ยับยั้งแคลเซียมเข้าสู่เซลล์กล้ามเนื้อ ทำให้กล้ามเนื้อมดลูกคลายตัว ข้อห้ามใช้ โรคหัวใจ โรคไต ความดันโลหิตต่ำ เช่นยา Nifedipine (Adalat)
Prostaglandin synthetaseinhibittions
ออกฤทธิ์ยับยั้งการสังเคราะห์และการทำงานของ prostaglandin เช่นยาIndomethacin
Magnesuim sulphate
ออกฤทธิ์คลายกล้ามเนื้อเรียบ และกล้ามเนื้อลาย ทำให้มดลูกคลายตัว ระวังในคนได้ยาpethidine
หลักการพยาบาล
ลดการหดรัดตัวของมดลูกและป้องกันการแตกของถุงน้ำเช่น ให้พักบนเตียง ช่วยเหลือกิจกรรม ดูแลการได้รับยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก และสารน้ำ
ให้ทารกมีความปลอดภัย ติดตามสภาพทารกในครรภ์ ดูแลการได้รับยากระตุ้นการสร้างสาร Surfactant ในปอด คือdexamethazone 24 mg
Premature rupture of membranes
สาเหตุ
การติดเชื้อ
การตั้งครรภ์แฝด ครรภ์แฝดน้ำ
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
ถ้าปัสสาวะสตรีตั้งครรภ์สามารถกลั้นได้ส่วนน้ าคร่ำที่ไหลออกมาไม่สามารถกลั้นได้
การตรวจร่างกาย
การตรวจ speculum exam
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Nitrazine paper test ผลเปลี่ยนสีจากสีเหลืองเป็นสีน้ำเงิน
Fern test นำน้ำในช่องคลอดไปป้ายบนแผ่นสไลด์ เมื่อแห้งจะเป็นผลึกรูปใบเฟิร์น (Arborization)
การรักษา
ประเมิน lung maturity โดยวิธีต่าง ๆ เช่น Shake test หรือfoam test ให้ผลบวกตั้งแต่ 3 ใน 5 หลอดทดลอง การหาค่าLecithin/Sphingomyelin (L/S ratio) ได้ค่ามากกว่า 2:1
การพยาบาล
การพยาบาลเพื่อป้องกันภาวะถุงน้ าคร่ าแตกก่อนการเจ็บครรภ์
การพยาบาลเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากภาวะ PROM ได้แก่
Dead fetus in utero หรือ DFIU
ตายของทารกก่อนคลอด โดยไม่คำนึงถึงอายุครรภ์
Early fetal death
Intermediate fetal death
Late fetal death
สาเหตุ
ด้านแม่
โรคแทรกซ้อน
ตั้งครรภ์เกิดกำหนดทำให้รกเสื่อม
ด้านทารก
พิการแต่กำเนิด
ติดเชื้อไวรัส
สายสะดือย้อย
twin-twin transfusion syndrome
ด้านรก
มีรกเกาะต่ำรก
ลอกตัวก่อนกำหนด
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย เต้านมเหลว ยุบ
การตรวจครรภ์
มดลูกไม่โตขึ้นในระยะเวลา 3 สัปดาห์ หรือมดลูกขนาดเล็กลง
ฟังไม่ได้ยินเสียงหัวใจทารก
คลำการเคลื่อนไหวของทารกไม่ได้
พบ ศีรษะน่วม กะโหลกศีรษะยุบ
การตรวจพิเศษ
Amniocentesis เจาะน้ำคร่ำผ่านหน้าท้อง หรือ Amniatomy เจาะน้ำคร่ำผ่านช่องคลอด พบ น้ าคร่ำสีน้ำตาลเข้มหรือขุ่นข้นตายนานกว่า 1
สัปดาห์ น้ำคร่ำเป็นเลือดเก่า ๆ จำนวนน้ำคร่ำน้อยกว่าปกติ- Ultrasound ไม่พบ fetal cardiac activity
อาการสำคัญที่พบจากการถ่ายภาพรังสี
Spaulding’s sign
Deuel’s sign
Robert’s sign
พบการงุ้มงอ
การตรวจทางชีวเคมี
ระดับ Estriol ลดต่ำลงทันทีภายใน 24-48 ชม.(สร้างจากต่อมหมวกไตและตับทารก)
Creatinin kinase ในน้ าคร่ำสูงกว่าปกติสูงมาก ถึง 1000 มล. (ปกติ 30)
Alpha fetoprotein (AFP) สูงขึ้น
ภาวะแทรกซ้อน
DisseminatedIntravascular Coagulogram: DIC
การพยาบาล
ประเมินการติดเชื้อ และภาวะผิดปกติการแข็งตัวของเลือด
ดูแลด้านจิตใจ
ความผิดปกติของน้้าคร่้า
แบ่งออกเป็น 2 ชนิด
ภาวะน้้าคร่้ามาก/ครรภ์แฝดน้้า
ปริมาณน้้าคร่้า > 2,000 ml.
U/S -> ค่าที่วัดแอ่งลึกที่สุดของน้้าคร่้า (SDP) ≥ 8 cm.
amniotic fluidindex (AFI) > 24 cm.
ภาวะน้้าคร่้าน้อย
น้้าคร่้า < 500 ml.
(SDP) < 2 cm.
amniotic fluidindex (AFI) < 5 cm.
hydramios หรือ polyhydramnios
แบ่งออกเป็น 2 ชนิด
Acute hydramnios
Chronic hydramnios
สาเหตุ
ด้านมารดา
เป็นโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้้าตาลได้ไม่ดี
monozygotic twin
ไม่ทราบสาเหตุ พบบ่อยที่สุด
ด้านทารก
anencephaly และ spina bifida
esophageal atresia
hydrops fetalis
ผลต่อมารดา
Preterm labor
PROM
ตกเลือดหลังคลอด
ผลต่อทารก
ตายปริกำเนิดสูง
เกิดก่อนกำหนดสองเท่า
ทารกมีความผิดปกติ
การประเมินและวินิจฉัย
ผนังหน้าบางตึงใส คลำส่วนของทารกได้ยาก FHS ไม่ชัดเจน และคลำพบการสั่นสะเทือนของน้้า(fluid thrill)
การตรวจ Ultrasound เพื่อดูปริมาณน้้าคร่ำ
การรักษา
ให้ยา indomethacin
ระวังการเกิด cord prolapse และ placenta abruptionและการเกิด PPH หลังคลอด
Postterm
ความหมาย
ตั้งครรภ์ตั้งแต่ 42 สัปดาห์หรือมากกว่า 294 วันเป็นต้นไป
สาเหตุ
ไม่ทราบแน่ชัด
อาจเกิดจากความผิดปกติของการสร้างพลอสตาแกรนดิน
ปากมดลูกไม่ตอบสนองต่อพลอสตาแกรนดิน
ควรระวังการคำนวนอายุครรภ์ผิดพลาด
วินิจฉัย
ประวัติประจำเดือน อายุครรภ์
อาการ มดลูกขนาดเล็กลง คลำพบทารกชัดเจนเนื่องจากน้ าคร่ำน้อยลง
น้ำหนักลดมากกว่า 1 กก, ต่อสัปดาห์ในช่วงท้ายของการตั้งครรภ์
ทารกดิ้นน้อยลง
ตรวจภายในพบกระดูกศีรษะแข็ง ไม่เกิด molding
ผลต่อมารดาทารก
คลอดยาก จาก Macrosomia
คลอดติดไหล่
การเคลื่อนต่ำของทารกช้า เพราะไม่เกิด molding
เสี่ยงต่อการใช้สูติหัตถการ
การดูแลรักษา
ทำให้การตั้งครรภ์สิ้นสุด
เฝ้าระวังระยะก่อนเจ็บครรภ์
เฝ้าระวังระยะเจ็บครรภ์
เฝ้าระวังระยะหลังคลอด
Multiple pregnancy
ความหมาย
การตั้งครรภ์ที่เกิดจากการฝังตัวของไข่ที่ถูกผสมแล้วภายใน
มดลูก และมีตัวอ่อนมากกว่าหนึ่งคนขึ้นไป
ประเภทครรภ์แฝด
Monozygotictwins, identical twins
Diamnionic, dichorionic, monozygotic twins
Diamnionic, monochorionic, monozygotic twins
Monoamnionic , monochorionic, monozygotic twins
Conjoined twins หรือ Siamese twins
Dizygotic twins หรือ fraternal
twins
สาเหตุส่งเสริมให้เกิดครรภ์แฝด
พันธุกรรม
มีประวัติเคยรักษาภาวการณ์มีบุตรยาก
เชื้อชาติ
อายุและจำนวนครั้งของการตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อมารดา
โลหิตจางได้มากกว่าครรภ์เดี่ยว 2-3 เท่า
อาการไม่สุขสบายพบมาก รุนแรง
อาการแทรกซ้อนมากขึ้น
การคลอดผิดปกติ น้ าคร่ าผิดปกติ มากกว่าปกติ คลอดก่อนกำหนดถุงน้ำแตกก่อนเจ็บครรภ์
ผลกระทบต่อทารก
การแท้งทารกพิการแต่กำเนิดทารกน้ำหนักตัวน้อยทารกเสียชีวิต
Twin –to- twin transfusion syndrome มีการถ่ายเทเลือดจาทารกคนหนึ่ง (donor) สู่ทารกอีกคนหนึ่ง (recipient)ทารกแฝดผู้ให้จะโลหิตจาง ผู้รับมีเม็ดเลือดแดงมากกว่าปกติ หัวใจวายได้
การพิจารณาการคลอด
ทารกทั้งสองเป็นท่าศีรษะทำคลอดท่าศีรษะทางช่องคลอด
ทารกคนแรกไม่เป็นท่าศีรษะผ่าตัดทำคลอด
ประเมินน้ำหนัก > 1500ทำคลอดทางช่องคลอด
ประเมินน้ำหนัก < 1500ทารกคนที่สองหนักกว่าคนแรก500 กรัม หรือมีข้อบ่งห้ามทำคลอดท่าก้นทางช่องคลอด