Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 16 การจัดการกับเด็กกลุ่มพิเศษ (กลยุทธ์สำหรับความแตกต่างระหว่างบุคคล,…
บทที่ 16 การจัดการกับเด็กกลุ่มพิเศษ
การประเมินผลสัมฤทธิ์เบื้องต้น
ในห้องเรียนครูควรใช้เครื่องมือและแหล่งข้อมูลต่างๆ
การทดสอบที่ครูทำเอง
การสังเกตผู้เรียนเป็นรายบคคล
ข้อมูลจากแฟ้นประวัติผู้เรียนแต่ละคน
การกำหนดกลุ่มพิเศษ
ในห้องเรียนมีความจำเป็นต้องพิจารณาระดับทักษะพื้นฐานในวิชาต่างๆ
ความสนใจ ภูมิหลังของผู้เรียนที่มีผลกระทบต่อการเรียนการสอน
จำเป็นต้องคำนึงเมื่อผู้สอนเตรียมการสอน
การสอนเด็กที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ต่ำ
การสอนโดยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม
กิจกรรมที่ให้ผู้เรียนทำโดยอิสระด้วยตนเอง
การจัดและการดำเนินการสอน
ครูควรแตกย่อยเนื้อหาสาระที่จะสอนออกเป็นส่วน ๆ
การสอนซ่อนเสริม
ครูต้องพิจารณาสิ่งสำคัญ 2 ประการ
ครูต้องจัดเตรียมเอกสารประกอบการเรียนการสอนให้เหมาะกับผู้เรียน
ครูต้องจัดเวลาสำหรับการสอนซ่อมให้อยู่ในตารางการใช้เวลาอย่างเป็นทางการ
การสร้างเจตคติที่ดี
สร้างความรู้สึกที่ดีให้เกิดขั้นกับตัวผู้เรียน
กลยุทธ์สำหรับความแตกต่างระหว่างบุคคล
สำหรับปรับความแตกต่างระหว่างบุคคลและวิธีการบริหารจัดการ
การสอนเป็นทีม
ถ้าผู้เรียนในระดับชั้นหนึ่งๆ มีความแตกต่างผู้เรียนบางคนจากแต่ละห้องที่มมีระดับความสามารถพอๆกันก็รวมกันเป็นกลุ่มในแต่ละวิชาได้
การสอนเป็นทีมสิ่งที่ควรพิจารณา
1.การสอดประสานของตารางสอน
2.การเคลื่อนย้อยผู้เรียน
3.การเตือนผู้เรียนว่าต้องนำอะไรติดตัวไปบ้างในการไปเรียนกลุ่มย่อยแต่ละวิชา
4.กฎและกระบวนการ
5.การคงไว้ซึ่งความรับผิดชอบในงาน
ผู้เรียนต้องมั่นใจว่าผู้เรียน
ผู้เรียนต้องอธิบายเกี่ยวกับมาตรฐานของงานให้ชัดเจน
เมื่อครูพบผู้เรียนแต่ละวันก็ตรวจงานก่อนจบบทเรียน
แจ้งผลการเรียน
แจ้งผู้ปกครอง
การปรับการสอนผู้เรียนทั้งห้อง
การจัดที่นั่งผู้เรียน
การสอนแบบให้ผู้เรียนมีส่วนร่วน
คำแนะนำ
การให้งานแก่ผู้เรียน
การสอนพิเศษ
Special Educaton
เป็นโปรแกรมพิเศษหรับผู้เรียนที่มีปัญหาการเรียนหรือเรียนอ่อนในบางวิชา
chapter l program
เป็นโปรแกรมพิเศษที่จัดให้มีขึ้นในสถานศึกษาสำหรับผู้เรียนที่มาจากครอบครัวรายได้น้อย
ผู้เรียนที่มีทักษะทางวิชาการต่ำจะได้รับการสอนเพิ่มจากครูพิเศษ
Enrichmen Program
เป็นโปรแกรมพิเศษส่งเสริมบางวิชาโดยเฉพาะสำหรับเรียนฉลาดจะใช้แหล่งวิทยาการชุมชน
การสอนพิเศษหรือหรือโปรแกรม
เวลาที่ประสานสอดคล้องกันกับครูคนอื่น
การดำเนินการตามกำหนดการ
เตรียมกิจกรรมสำหรับผู้เรียนที่เข้ามา ขณะกำลังรอการสอนของครู
การให้ผู้เรียนที่กลับมาทำงานต่อเนื่อง
การจัดกิจกรรมเมื่อไม่มีการพิเศษ
ผู้ช่วยในห้องเรียน
การสอนเป็นรายบุคคล
การเปลี่ยนกิจกรรม
การเดินไปมาของผู้เรียน
การควบคุมดูแลพฤติกรรมผู้เรียน
ต้องรู้ว่าผู้เรียนทุกคนต้องทำอะไรในเวลาที่กำหนด
ครูต้องแน่ใจว่าผู้เรียนทุกคนรู้ว่าตนต้องทำอะไรต้องปฏิบัติตัวอย่างไรในการทำกิจกรรมต่างๆ
ครูต้องดูแลผู้เรียนที่ไม่รู้ว่าจะเริ่มต้นอย่างไร
ครูเดินไปดูทั่วๆห้องและดูผลการทำงานของผู้เรียนเป็นระยะ
โดยปกติจะมีผู้เรียน 2- 3 คนที่ต้องการแนะนำช่วยเหลือมากกว่าคนอื่นเป็นไปได้
การให้กำลังใจแก่ผู้เรียนเพื่อให้มีความรับผิดชอบต่องาน
สัญญา
ความร่วมมือของผู้เรียน ความช่วยเหลือจากเพื่อน
ให้ผู้เรียนจับคู่กันทำงาน ผลัดกันอ่านและฟังซึ่งกันและกัน
เมื่อครูสอนกลุ่มย่อย ให้ผู้เรียนที่ต้องการความช่วยเหลือไปขอความช่วยเหลือจากเพื่อนคนอื่นก่อน
แต่งตั้งให้ผู้เรียนที่มีความสามารถเป็นช่วยเหลือผู้เรียนคนอื่นๆ
แต่งตั้งหรือกำหนดหัวหน้ากลุ่มสำหรับศูนย์การเรียนรู้ที่จะตอบคำถามและจัดเอกสารการเรียน
กำหนดหรือแต่งตั้งผู้เรียนคนเก่งไว้ช่วยเหลือผู้เรียนอ่อนประจำตัว
อนุญาตให้ผู้เรียนช่วยเหลือผู้อื่น หรือขอความช่วยเหลือจากเพื่อนๆ
ความร่วมมือในการทำงานเป็นกลุ่ง
เพื่อนสอนเพื่อน
การสอนที่ผู้เรียนต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษ
ผู้เรียนที่มีความบกพร่องเรื่องการเรียน
ผู้เรียนที่มีปัญหาทางอารมณ์
ผู้เรียนที่มีความสนใจระยะสั้นและอยู่นิ่งไม่ได้
ผู้เรียนหูตึง
ผู้เรียนที่มีข้อจำกัดทางภาษาอังกฤษ
การสอนผู้เรียนที่มีความสามารถสูง
ครูควรส่งเสริมผู้เรียนที่มีความสูงให้มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์
ความสามารถ
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดหลากหลาย
นางสาวนิภาดา ตะมอตำ เลขที่ 27 รหัส 6120160468