Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดการดูแลบุคคลวัยผู้ใหญ่ (ประเภทผู้ป่วย (ผู้ป่วยทั่วไป :…
แนวคิดการดูแลบุคคลวัยผู้ใหญ่
พฤติกรรมการเจ็บป่วย
บุคคลรู้สึกว่าตนเองมีอาการบางอย่างผิดไปจากปกติ
จะมีพฤติกรรมเกิดขึ้นหลายอย่าง
ระยะปรากฏอาการ : เริ่มเมื่อตัดสินใจว่ามีอะไรบางสิ่ง
บางอย่างผิดปกติเกิดขึ้นในร่างกาย
ลักษณะทางด้านร่างกาย : อาการที่เป็นการแสดงถึงการผิดปกติของร่างกาย เช่น คลื่นไส้ อาเจียน
ลักษณะทางด้านความคิด : ความสำคัญของอาการเหล่านั้นตามความนึกคิดของบุคคล เช่น รู้สึกว่าเป็นอาการที่เสี่ยงอันตรายเพียงใด
การตอบสนองทางอารมณ์ : เป็นความรู้สึกที่่เกิดขึ้นต่ออาการที่ปรากฎและการแปลความหมายของอาการตามความรู้สึกนึกคิด เช่น อาการตกใจ กลัว หรือร้องไห้
ระยะตัดสินใจว่าป่วย : เป็นการยอมรับว่าตนป่วยและต้องการการดูแลจากผู้อื่นอย่างเต็มความสามารถ
มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ
เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าตนเองป่วยจริง
เพื่อขอคำแนะนำว่าควรจะทำประการใด
ระยะเข้ารับการรักษาจากแพทย์ : เป็นระยะที่ผู้ป่วยเข้ารับการวินิจฉัยโรค พยากรณ์โรค และวางแผนให้การรักษาจากแพทย์
ระยะรับบทบาทผู้ป่วย : การที่ผู้ป่วยแต่ละคนตัดสินใจอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์และพยาบาล
5 ระยะพักฟื้นและฟื้นฟูสภาพ : เป็นระยะตัดสินใจออกจากบทบาทผู้ป่วย เป็นระยะที่คนคิดว่าตนอยู่ในบทบาทของคนปกติทั่วไป
ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพของวัยผู้ใหญ่
ปัจจัยด้านชีวภาพและปัจจัยประชากร
สถานภาพสมรส
อาชีพ
เพศ
ความเครียด
อายุ
ลักษณะอุปนิสัย
ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม : สภาพที่อาศัยอยู่เต็มไปด้วยมลภาวะ
ปัจจัยด้านบุคคล
(พฤติกรรม)
การออกกำลังกาย
การบริโภคอาหาร
การนอนหลับ
พฤติกรรมทางเพศ
พฤติกรรมที่คุกคามต่อสุขภาพ
การสูบบุหรี่
การดื่มแอลกอฮอล์
การใช้สารเสพติด
ประเด็นขัดแย้งทางจริยธรรม
ปัจจัยที่ทำให้เกิดประเด็นขัดแย้งทางจริยธรรม
ทางการพยาบาล
ทัศนคติและความคาดหวังของประชาชน
ผู้รับบริการบางคนอาจมีอคติต่อวิชาชีพการพยาบาล
พยาบาลบางคนขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที่
ละเลยต่อหลักการและจรรยาบรรณวิชาชีพ
ระบบการบริหารงานของหน่วยงานหรือองค์กร
ทัศนคติของผู้ร่วมงานในทีมสุขภาพ
เป็นสถานการณ์ที่บุคคลต้องเลือกระหว่างสองทางเลือกที่ไม่ชอบเท่ากันมักมีทางออกในการเลือกที่ไม่เป็นที่พอใจเสมอ
คุณสมบัติ 3 ประการ
ปัญหานั้นไม่สามารถแก้ได้โดยใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์
ปัญหาที่ก่อให้เกิดความพิศวงหรือสับสน
ผลของปัญหาจริยธรรมนั้นจะต้องกระทบมากกว่าเหตุการณ์ในขณะนั้น
ปัญหาทางด้านจริยธรรม
ทางการพยาบาลที่
พบบ่อย
ในหอผู้ป่วย
การบอกความจริง
การปกปิดความลับ
การยินยอมที่ได้รับการบอกกล่าว
สัมพันธภาพ/ความร่วมมือกับผู้ร่วมงาน
การจัดสรรทรัพยากร : การจัดสรรทรัพยากรทางการแพทย์ที่สำคัญและจำเป็นให้แก่ผู้ป่วย
พันธะหน้าที่ต่อวิชาชีพกับหน้าที่ต่อตนเอง
การยืดชีวิตผู้ป่วย
แนวคิดเกี่ยวกับ
เมตตามรณะ
: การปล่อยให้ผู้ป่วยที่หมดหวังจากการรักษาเสียชีวิตโดยไม่ต้องทนทุกข์ทรมานจากอาการของโรคร้ายได้พบกับความตายอย่างสงบ
การตอบสนองของบุคคลวัยผู้ใหญ่ที่มีสุขภาพเบี่ยงเบน
ความต้องการ : Maslow กล่าวว่า มนุษย์ทุกคนล้วนมีความต้องการ และต้องการที่จะตอบสนองความต้องการของตนเองทั้งสิ้น
บุคคลมีความต้องการและต้องการ
การได้รับการตอบสนองใน 3 ด้าน
ต้องการให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้
ต้องการความใกล้ชิด
ต้องการมีสิทธิเสรีภาพ
ลักษณะผู้ป่วย
มีความเชื่อ เจตคติ และค่านิยมและประสบการณ์ที่แตกต่างกัน
ผู้ป่วยเข้ามาอยู่โรงพยาบาลด้วยจุดมุ่งหมายที่ต้องการหายจากโรค
มีความคาดหวัง ที่จะได้รับการดูแลจากเจ้าหน้าที่ในฐานะที่เป็นบุคคลคนหนึ่ง
มีแนวโน้มที่จะเกิดความรู้สึกสูญเสียอัตมโนทัศนได้ง่าย
ผู้ป่วยมักจะเต็มไปด้วยความสงสัย
ผู้ป่วยที่รับไว้ในโรงพยาบาลป่วยด้วยโรคต่างๆที่แตกต่างกัน
ผู้ป่วยแต่ละวัยประสบกับความกลัวและความวิตกกังวลแตกต่างกัน
มีความต้องการดูแลแตกต่างกันไปตามวัย
การตัดสินใจเชิงจริยธรรม
แนวทางการตัดสินใจเชิงจริยธรรม
การวิเคราะห์ ถึงคุณค่า และความเชื่อที่ส าคัญที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์
การวิเคราะห์ถึงความขัดแย้งที่เกิดขึ้นและมีใครบ้างที่ได้รับผลกระทบ
การวิเคราะห์เรื่องราวที่อยู่เบื้องหลังสถานการณ์ที่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง
ตัดสินว่าควรจะท าอย่างไร
รูปแบบการตัดสินใจเชิงจริยธรรม
DICIDE model 6 ขั้นตอน
C-Consider the options
หมายถึง การพิจารนาถึงทางเลือก ว่ามีทางเลือกอะไรบ้าง
I-Investigate outcomes
หมายถึง การพิจารณาผลที่ตามมาของแต่ละทางเลือกโดยพิจารนาถึงข้อดีข้อเสียของแต่ละทางเลือก
E-Ethical review
หมายถึง การทบทวนปัญหาจริยธรรมว่าปัญหามีหลักการทางจริยธรรมข้อใดบ้างที่เกี่ยวข้อง
D-Decide on action
หมายถึง การตัดสินใจเลือกปฎิบัติโดยเลือกทางเลือกที่มีข้อดีมากที่สุดและข้อเสียมีน้อยที่สุด
D-Define the problem(s)
หมายถึง การชี้ให้เห็นถึงปัญหาว่า อะไรคือสิ่งสำคัญของปัญหาในเหตุการณ์
E-Evaluate results
หมายถึง การประเมินผลลัพธ์ที่ได้ว่าบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ได้วางไว้หรือไม่
แนวคิดเกี่ยวกับภาวะสุขภาพ
วัยผู้ใหญ แบ่งเป็น 3 ระยะ
วัยผู้ใหญ่ตอนปลายหรือวัยสูงอายุ อายุ 60-65 ปีขึ้นไป
วัยผู้ใหญ่ตอนกลางหรือวัยกลางคน อายุ 40 ปีถึง 60-65 ปี
วัยผู้ใหญ่ตอนต้นหรือวัยหนุ่มสาว อายุ 20-25 ปีถึง 40 ปี
ภาวะสุขภาพ
= ภาวะสมบูรณ์ทั้งกาย ทางจิต ทางสังคม และจิตวิญญาณต้องมีการเชื่อมโยงกันอย่างสมดุล
ภาวะสุขภาพของผู้ใหญ่
ระบบย่อยอาหาร
ทำงานลดลง
ระบบผิวหนัง
มีความยืดหยุ่นน้อยลง เริ่มมีรอยย่น
สีผม
จะเริ่มหงอกขาว
ฟัน
จะหักและร่วง
กระดูก
เริ่มเปราะบางและหักง่าย
อวัยวะที่่ทำหน้า ที่รับรู้และสัมผัส จะมีความเสื่อมเกิดขึ้น
ตา
ไม่สดใสเริ่มฝ้าฟาง สายตายาว
การทำงานของ
หู
ผิดปกติ
ปัญหาที่พบในวัยผู้ใหญ่
ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงต่อ
สุขภาพวัยผู้ใหญ่ด้านร่างกาย
ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงต่อ
สุขภาพวัยผู้ใหญ่ด้านสังคม
ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพวัย
ผู้ใหญ่ด้านจิตใจ
ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ
วัยผู้ใหญ่ด้านจิตวิญญาณ
อุบัติเหตุ
ประเภทผู้ป่วย
ผู้ป่วยทั่วไป :
บุคคลที่เจ็บป่วย เเต่ไม่ใช่ป่วยเเบบวิกฤติฉุกเฉิน
ผู้ป่วยฉุกเฉิน :
บุคคลที่ได้รับบาดเจ็บหรือมีอาการหนักกะทันหันซึ่งเป็นอันตรายต่อการดำรงชีวิตหรืออวัยวะที่สำคัญ
ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤติ :
บุคคลที่ได้รับบาดเจ็บหรือมีอาการหนักกะทันหันซึ่งเป็นอันตรายต่อการคุกคามชีวิต มีโอกาสเสียชีวิตสูง
ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :
ผู้ป่วยที่เป็นโรคที่เมื่อเป็นแล้วจะมีอาการ หรือต้องรักษาติดต่อกันนาน หรือตลอดชีวิต
ผู้ป่วยระยะสุดท้าย :
ผู้ป่วยระยะสุดท้ายที่ได้รับการวินิจฉัยการเจ็บป่วยถึงขั้นสูญเสียชีวิต สามารถมีชีวิตอยู่ได้ประมาณ 6 เดือน หรือน้อยกว่า
ผู้ป่วยระยะสุดท้าย หรือ ผู้ที่หมดหวัง :
ผู้ป่วยที่แพทย์ให้การวินิจฉัยว่า เป็นโรคที่ไม่สามารถจะรักษาให้หายได้ และไม่มีโอกาสที่จะใช้เวลาที่เหลือในชีวิตของตน
ผู้ป่วยระยะสุดท้ายหรือผู้ป่วยใกล้ตาย :
ผู้ป่วยที่หมดหวังจะหายจากโรค เป็นความเจ็บป่วยที่ไม่สามารถรักษาให้หายได้ด้วยวิธีการใดๆ อาการจะทรุดลงเรื่อยๆและเสียชีวิตในที่สุด
น.ส.ปาจารีย์ วิเศษศักดิ์ UDA6280124