Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ Menigitis (การวินิจฉัยโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ…
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
Menigitis
สาเหตุ
Eosinophilic meningitis
พยาธิตัวจี๊ด เกิดจากการ
รับประทานอาหารสุก ๆ ดิบ ๆ
Fungal meningitis
เกิดจากการติดเชื้อรา เช่น
Candida albicants , Cryptococcus neoformans
Viral meningitis
เกิดจากไวรัส
เกิดจากสาเหตุอื่น ๆ
5.1 เนื้องอก ( Malignancy ) เช่น metastatic leukemia
5.2 การได้รับสารพิษ จากตะกั่ว ปรอท เป็นต้น
Bacterial meningitis
สาเหตุการเกิด เชื้อโรคเข้าสู่สมองได้หลายทาง
ทางกระแสโลหิต
เกิดการติดเชื้อที่ส่วนอื่นของร่างกาย แบคทีเรีย
จะเข้าสู่กระแสโลหิต ( Bacteremia ) และผ่านเข้า สู่ระบบประสาท
ทาง Choroid plexus เข้าสู่โพรงสมอง และเข้าสู่ช่องใต้เยื่อ
arachnoid
เชื้อแพร่กระจาย จากบริเวณใกล้เคียง
จากการอักเสบของหูชั้นกลาง การติดเชื้อที่จมูก
การได้รับเชื้อโดยตรง จากการปนเปื้อน
น้ำไขสันหลังจะไหลออกมาทางจมูก หรือหู ทำให้เกิดการปนเปื้อน
เชื้อโรคเข้าสู่บริเวณที่แตกของกะโหลกศีรษะ
มีการแตกของกะโหลกศีรษะ ที่บริเวณฐานของกะโหลกศีรษะ
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย จะมีความรุนแรง
มาก แบ่งเป็น
Tuberculosis meningitis เกิดจากเชื้อวัณโรค
Purulent meningitis เยื่อหุ้มสมองอักเสบ ชนิดเป็นหนอง
การวินิจฉัยโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
การตรวจเลือด
พบปริมาณเม็ดเลือดขาวมีจำนวนสูงขึ้น หรือมีอีโอซิโนฟิลสูง
การส่งเลือดเพาะเชื้อ จะพบเชื้อแบคทีเรีย
การเจาะหลัง
4.2 ความดันของน้ำไขสันหลังสูง
ในทารกแรกเกิด มีค่าปกติประมาณ 100 มม. น้ำ
ในเด็กโต มีค่าปกติประมาณ 110 - 150 มม. น้ำ
ผู้ป่วยโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ อาจสูงเกินกว่า 300 มม. น้ำ
4.3 จำนวนเซลล์ในน้ำไขสันหลัง
เม็ดเลือดขาวในน้ำไขสันหลัง ในเด็กปกติไม่ควรเกิน 10 เซลล์ /
ลบ. มม .
พบเม็ดเลือดขาว ในน้ำไขสันหลังเพิ่มขึ้นมากกว่า 1000 เซลล& /
ลบ. มม . และส่วนใหญ่เป็นชนิด neutrophil
4.1 น้ำไขสันหลังมีลักษณะผิดปกติ
เชื้อแบคทีเรีย น้ำไขสันหลังจะมีลักษณะขุ่น หรือเป็นหนอง
เชื้อวัณโรค น้ำไขสันหลังจะเป็นสีเหลือง
4.4 โปรตีนในน้ำไขสันหลัง
เด็กปกติ จะตรวจพบโปรตีนในน้ำไขสันหลังไม่เกิน 40 mg / dl
ส่วนใหญ่มักจะเกิน 150 mg / dl
4.5 น้ำตาลในน้ำไขสันหลัง
มักจะต่ำกว่า 40 mg / dl
การตรวจร่างกาย
มีการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ เช่น คออักเสบ ทอนซิลอักเสบ
การตรวจ Kernig ’ s sign ได้ผลบวก
เด็กมีไข้ ปวดศีรษะ อาเจียน คอแข็ง ( Stiff neck )
การตรวจ Brudzinski ’ s sign ได้ผลบวก
การตรวจคอมพิวเตอร์สมอง ( CT scan )
เพื่อค้นหาตำแหน่งของการติดเชื้อ และการลุกลามของโรค
การซักประวัติ
มารดาให้ข้อมูลว่า เด็กไม่ยอมดูดนม ร้องกวน กระสับกระส่าย
การถ่ายภาพรังสีบริเวณปอด หรือไซนัส
เพื่อตรวจดูการติดเชื้อในบริเวณที่ใกล้เคียง กับเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
อาการ
เยื่อหุ้มสมองมีอาการระคาย ( Meningeal Irritation )
ในระยะแรก เด็กจะมีอาการซึม
อาการจะเลวลง หมดสติหรือชัก ภายในระยะ 4 - 5 วัน
ปวดที่บริเวณคอ คอแข็ง ( Stiffness of Neck )
ในเด็กโต Kernig ’s sign Positive
ปวดศีรษะมาก
Brudzinski ’s sign Positive
มีความดันในกระโหลกศีรษะสูง
สมองบวม
มีน้ำหรือหนอง ในช่องใต้เยื่อหุ้มสมอง
อาการติดเชื้อ
มีไข้ หนาวสั่น เบื่ออาหาร
ในเด็กเล็ก ๆ จะกระสับกระส่าย หงุดหงิด ไม่ยอมดูดนม อาเจียน
การรักษาโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
การรักษาตามอาการ
ให้ยาปฏิชีวนะ ในผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อจากแบคทีเรีย
ให้ยาลดไข้ เมื่อมีไข้สูง และบรรเทาอาการปวด
ใช้เครื่องช่วยหายใจ ในผู้ป่วยที่มีปัญหาการหายใจ หรือภาวะหมดสติ
ให้ยาลดอาการบวมของสมอง เมื่อมีอาการม่านตาขยายโตขึ้น
หัวใจเต้นช้า หรือเด็กมีอาการซึมลง
ให้ยากันชัก ในผู้ป่วยที่มีอาการชักเกร็ง เช่น
ยาฟีโนบาร&บิทัล ( Phenobarbital )
ยาเฟนิโทอิน ( Phenytoin )
ให้ยานอนหลับ เพื่อลดอาการกระสับกระส่าย
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เพื่อรักษาภาวะสมดุลของน้ำ
และอิเลคโตไลท์ เมื่ออาเจียนมาก หรือรับประทานอาหารไม่ได้
การรักษาเฉพาะ
ให้ยาปฏิชีวนะ ให้สอดคล้องกับเชื้อที่เป็นสาเหตุให้เกิดโรค
โดยดูจากผล การเพาะเชื้อจากน้ำไขสันหลัง
การป้องกันโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
วัคซีนป้องกันโรคไข้กาฬหลังแอ่น (Meningitis ACWY Vaccine)
วัคซีนป้องกันโรคหัด โรคคางทูม และโรคหัดเยอรมัน (MMR)
วัคซีน IPD (Pneumococcal Vaccine)
วัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อฮิบ (Haemophilus Influenzae Type B)
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล 3 เสี่ยงต่อภาวะอุดกั้นทางเดินหายใจ
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพ
ฟังเสียงหายใจและเสียงปอด
จัดท่านอนตะแคงหน้า
ดูแลให้ได้ O2 mask c bag 10 LPM
ดูแลให้ได้รับยา Berodual 1 NB q 6 hr c prn
ติดตามผลการตรวจ chest X-ray
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับ Fumocil (200) 1 ซอง PO tid PC
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลที่ 2 เสี่ยงต่อการเกิดอันตรายจากอาการชัก
กิจกรรมการพยาบาล
วัดV/S (Temp,Pulse,RR) ทุก 4 ชม.
ดูแลเช็ดตัวลดไข้
ดูแลให้สวมเสื้อผ้าบางๆ
ดูแลให้ยาลดไข้ตามแผนการรักษา (กรณีไข้ ≥ 38 ๐ C )
ติดตามไข้ทุก ….นาที (15-30 นาที)
ดูแลให้พักผ่อน
สังเกตอาการเปลี่ยนแปลงที่บ่งชี ว่ามี อาการชัก
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล 4 ไม่สุขสบายเนื่องจากมีไข้สูง
กิจกรรมการพยาบาล
วัดสัญญาณชีพและประเมินสัญญาณชีพ ระดับความรู้สึกตัวทุก 4 ชั่วโมง
ดูแลเช็ดตัวลดไข้ด้วยน้ำธรรมดา เมื่ออุณหภูมิมากกว่า 37.5 องศา เป็นเวลา 15 - 20 นาที
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำชดเชยอย่างเพียงพอ
ให้ผู้ป่วยพักผ่อนในที่ที่สิ่งแวดล้อมเงียบสงบ เพื่อเป็นการลดกิจกรรมของร่างกาย ทำให้การเผาผลาญลดน้อยลง ซึ่งจะช่วยลดความร้อนในร่างกายได้
ไม่ห่มผ้าหนาเกินไปเพื่อให้ความร้อนระบายออกจากร่างกายได้ดีขึ้น
หลังเช็ดตัวลดไข้แล้วไข้ยังสูงอยู่ ดูแลให้รับประทานยาพาราเซตามอล เพื่อลดไข้ตามแผนการรักษาของแพทย์
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลที่ 1. มีโอกาส เกิดภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง(IICP)
กิจกรรมการพยาบาล
ตรวจวัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง keep BP
จัดท่านอนให้ศีรษะสูง 15-30 องศา ดูแล ศีรษะลำคอ และสะโพก ไม่พับงอมากกว่า 90 องศา เพื่อ ให้การไหลเวียนของเลือดไปเลี้ยงสมองได้สะดวก ห้ามจัด ท่านอนคว่ำหรือนอนศีรษะต่ำ
ดูแลให้ยาต้านการแข็งตัวของเลือดตาม แผนการรักษาของแพทย์
สังเกตอาการของภาวะความดันในกะโหลก ศีรษะสูง เช่น ปวดศีรษะ คลื่นไส้อาเจียนพุ่ง ความดันโลหิต Systolic สูงขึ้นจากเดิม 20%
ความดันชีพจรกว้างขึ้น (Pulse pressure 50-60 mmHg) รูปแบบการหายใจปกติ ลักษณะ Cheyne Stroke, Hyperventilation เป็นต้น
Observe NS ทุก 15 นาที 4 ครั้ง ทุก 30 นาที 2 ครั้ง ทุก 1 ชั่วโมง if decrease >2 แจ้งแพทย์ทราบ
ดูแลให้ยา Diamox (acetazolamide)
พยาธิสภาพ
พบหนองในช่องใต้เยื่อ arachnoid โดยเฉพาะตามร่องสมอง
และรอบ ๆ เส้นประสาทสมอง หนองเหล่านี้ ประกอบไป ด้วยเม็ด
เลือดขาว Lymphocyte macrophage และอาจพบแบคทีเรีย ด้วย
ทำให้เกิดการอักเสบ การคั่งของหลอดเลือดดำ ( Venous
congestion ) เกิดสมองบวม สมองขาดเลือด และเกิดการอักเสบ
ของโพรงสมองและเนื้อสมอง ด้วย