Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดในการดูแลบุคคลวัยผู้ใหญ่ (ภาวะสุขภาพของผู้ใหญ่ (สีผม…
แนวคิดในการดูแลบุคคลวัยผู้ใหญ่
แนวคิดเกี่ยวกับภาวะสุขภาพ
ภาวะสุขภาพ
ภาวะของมนุษย์ที่มีความสมบูรณ์ทั้งทางกาย ทางจิต ทางสังคม และจิตวิญญาณ
การที่บุคคลสามารถดูแลตนเองได้ มีการประเมินตนเอง แล้วตัดสินใจเลือกการดูแลตนเองที่เหมาะสมเมื่อมีอาการเจ็บป่วยทางกายหรือทางใจ
ภาวะสุขภาพของผู้ใหญ่
สีผม เริ่มร่วงและเริ่มหงอกขาว
กระดูกเริ่มเปราะบางและหักง่าย
ระบบย่อยอาหาร ทำงานลดลง
ระบบผิวหนัง ยืดหยุ่นน้อยลงและเริ่มมีรอยย่น
ฟันจะหักและร่วงหลุด
ตา เริ่มฝ้าฟาง สายตายาว
หู การทำงานของหูเริ่มผิดปกติ
การได้กลิ่นจะเสื่อมลง
ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพของวัยผู้ใหญ่
ปัจจัยด้านบุคคล
พฤติกรรม
การออกกำลังกาย
การบริโภคอาหาร
การนอนหลับ
พฤติกรรมทางเพศ
พฤติกรรมที่คุกคามต่อสุขภาพ
การสูบบุหรี่
การดื่มแอลกอฮอล์
การใช้สารเสพติด
ปัจจัยด้านชีวภาพและปัจจัยประชากร
-อายุ
-เพศ
-อาชีพ
-สถานภาพสมรส
-ความเครียด
-ลักษณะอุปนิสัย
ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของบุคคลวัยผู้ใหญ่ที่มีสุขภาพเบี่ยงเบน ทั้งในร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านสังคม และด้านจิตวิญญาณ
ความต้องการ
ความต้องการให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้
ความต้องการความใกล้ชิด
ความต้องการมีสิทธิเสรีภาพ
พฤติกรรมการเจ็บป่วย
ระยะปรากฏอาการ
ประกอบด้วย 3ลักษณะ
ลักษณะทางด้านร่างกาย
อาการที่เป็นการแสดงถึงการผิดปกติของร่างกาย
ลักษณะทางด้านความคิด
ความสำคัญของอาการตามความนึกคิดของบุคคล
การตอบสนองทางอารมณ์
เป็นความรู้สึกที่เกิดขึ้นต่ออาการที่ปรากฎ
2 ระยะตัดสินใจว่าป่วย
-เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าตนเองป่วยจริง
-เพื่อขอคำแนะนำว่าควรจะทำอย่างไร
3 ระยะเข้ารับการรักษาจากแพทย์
ผู้ป่วยเข้ารับการวินิจฉัยโรค
4 ระยะรับบทบาทผู้ป่วย
ผู้ป่วยอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์และพยาบาล
5 ระยะพักฟื้นและฟื้นฟูสภาพ
ออกจากบทบาทผู้ป่วย คนส่วนใหญ่จะกลับบ้านและดูแลตนเองต่อที่บ้าน
ลักษณะผู้ป่วย
1 มีความเชื่อ เจตคติ และค่านิยมและประสบการณ์ที่แตกต่างกัน 2 ผู้ป่วยเข้ามาอยู่โรงพยาบาลด้วยจุดมุ่งหมายที่ต้องการหายจากโรค
3 มีความคาดหวัง
4 มีแนวโน้มที่จะเกิดความรู้สึกสูญเสียอัตมโนทัศนได้ง่าย
5 ผู้ป่วยมักจะเต็มไปด้วยความสงสัย
6 ผู้ป่วยที่รับไว้ในโรงพยาบาลป่วยด้วยโรคต่างๆที่แตกต่างกัน
7 ผู้ป่วยแต่ละวัยประสบกับความกลัวและความวิตกกังวลแตกต่างกัน
8 มีความต้องการดูแลแตกต่างกันไปตามวัย
ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยของบุคคลวัยผู้ใหญ่ที่มีภาวะสุขภาพเบี่ยงเบน
ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพวัยผู้ใหญ่ด้านร่างกาย
ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพวัยผู้ใหญ่ด้านจิตใจ
ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพวัยผู้ใหญ่ด้านสังคม
ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพวัยผู้ใหญ่ด้านจิตวิญญาณ
อุบัติเหตุ
ปัญหาทางด้านจริยธรรมทางการพยาบาล
ประเด็นขัดแย้งทางจริยธรรม
คำนึงถึง
ปัญหานั้นไม่สามารถแก้ได้โดยใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์
ปัญหาที่ก่อให้เกิดความสับสน ยากที่จะตัดสินใจโดยใช้ความจริงหรือข้อมูลมาช่วยได้
ผลของปัญหากระทบมากกว่าเหตุการณ์ในขณะนั้น คือจะต้องมีผลต่อเนื่องเกิดขึ้น
ปัจจัยที่ทาให้เกิดประเด็นขัดแย้งทางจริยธรรม
ทัศนคติและความคาดหวังของประชาชนที่มีต่อบริการทางการแพทย์และพยาบาล
ผู้รับบริการบางคนอาจมีอคติต่อวิชาชีพการพยาบาล
พยาบาลบางคนขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที่
ระบบการบริหารงานของหน่วยงานหรือองค์กร
ทัศนคติของผู้ร่วมงานในทีมสุขภาพ
ปัญหาที่พบบ่อย
การบอกความจริง ผู้ที่มีหน้าที่บอก คือ แพทย์
การปกปิดความลับ ปกปิดข้อมูลของผู้ป่วย
การยินยอมที่ได้รับการบอกกล่าว การยินยอมของผู้ป่วยในการรักษา โดยต้องได้รับข้อมูลอย่างละเอียดไม่ว่าจะเป็นวัตถุประสงค์ ขั้นตอน ผลดี ผลเสีย
สัมพันธภาพ/ความร่วมมือกับผู้ร่วมงาน ประเด็นขัดแย้งทางจริยธรรมระหว่างแพทย์และพยาบาล
การจัดสรรทรัพยากร การจัดสรรทรัพยากรทางการแพทย์ที่สำคัญและจำเป็นให้แก่ผู้ป่วย
พันธะหน้าที่ต่อวิชาชีพกับหน้าที่ต่อตนเอง พยาบาลต้องให้การดูแลผู้ป่วยทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน
7.การยืดชีวิตผู้ป่วย สิทธิของผู้ป่วยที่จะเลือกตัดสินใจในการตายด้วยตัวเอง
การตัดสินใจเชิงจริยธรรม
แนว
ทาง
การวิเคราะห์เรื่องราวที่อยู่เบื้องหลังสถานการณ์ที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งในคุณค่าและความเชื่อ
การวิเคราะห์ ถึงคุณค่า และความเชื่อที่สำคัญที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์
การวิเคราะห์ถึงความขัดแย้งที่เกิดขึ้นและมีใครบ้างที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ของความขัดแย้งทางจริยธรรม
ตัดสินว่าควรจะทำอย่างไร
รูปแบบ DICIDE model 6ขั้นตอน
D-Define the problem(s):หมายถึง การชี้ให้เห็นถึงปัญหาว่า
E-Ethical review:หมายถึง การทบทวนปัญหาจริยธรรม
C-Consider the options:หมายถึง การพิจารนาถึงทางเลือก
I-Investigate outcomes:หมายถึง การพิจารณาผลที่ตามมาของแต่ละทางเลือก
D-Decide on action:หมายถึง การตัดสินใจเลือกปฎิบัติโดยเลือกทางเลือกที่มีข้อดีมากที่สุดและข้อเสียมีน้อยที่สุด
E-Evaluate results:หมายถึง การประเมินผลลัพธ์ที่ได้ว่าบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ได้วางไว้หรือไม่