Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินภาวะสขุภาพตามระบบ (การตรวจช่องท้อง (ใช้เทคนิค 4 เทคนิค (การคลำ…
การประเมินภาวะสขุภาพตามระบบ
การตรวจช่องท้อง
ใช้เทคนิค 4 เทคนิค
การดู(Inspection)
รูปร่างลักษณะของท้อง
Flat
Scaphoid
Rounded
Protuberant
ดู skin lesion : แผลเป็น หลอดเลือดดำ
การฟัง
การฟังเสียงการเคลื่อนไหวของลำไส้
1.ใช้หูฟังด้าน Diaphragm วางบนหน้าท้องบริเวณ Umbilical area
2.ฟังเสียงการเคลื่อนไหว ของลำไส ้peristalsis
3.เกิดเสียงBowel sound
4.สังเกต ลักษณะเสียงและนับจํานวนครั้งต่อนาที
(ปกติจะมีการเคลื่อนไหวทุก 5-15 วินาที)
เสียงการเคลื่อนไหวของลำไส้
Hyperactive --> Diarrhea, Gastroenteritis, Early bowel obstruction
Hypoactive --> Bowel obstruction
Absent --> Peritonitis, Paralytic ileus
ฟังเสียงที่เกิดจากหลอดเลือด (Vascular sounds)
ใช้หูฟัง ด้าน Bell ฟังเสียง Bruits
(เสียงเหมือน Murmur ของหวัใจ) ที่
ตําแหน่ง Aortic, Renal artery, iliac artery
การเคาะ (Percussion)
หลักการเคาะ
2.เคาะส่วนที่ไม่เจ็บก่อน
3.เคาะทั่วบริเวณท้องทั้ง 4 ส่วน จากบนลงล่าง
1.ใช้นิ้วมือข้างถนัดเคาะลงบนข้อมือของนิ้วมืออีกข้างที่วางแนบกับหน้าท้อง
การทดสอบ shifting dullness
ภาวะปกติ : ตําแหน่งเสียงเคาะจะไม่เปลี่ยนแปลง
ภาวะผิดปกติ : เสียงเคาะdullness เปลี่ยนตําแหน่ง
ตามแรงโน้มถ่วง เรียกว่า “shifting dullness”
การทดสอบfluid trill
ภาวะปกติ : ไม่รู้สึกว่ามีแรงกระเพืIอมมากระทบผ่ามือของผู้ตรวจ
ภาวะผิดปกติ : รู้สึกถึงแรงกระเพืIอมมากระทบผ่ามืออีกด้าน
บันทึกผลว่า ให้ผลบวก
การเคาะตับ
วิธีตรวจ
1.เคาะหาขอบบนโดยวางมือซ้ายให้ขนานกับช่อง ICS ที่ 2 ใน แนว MCL และเคาะลงมาเรื่อยๆ จะยินเสียงทึบบริเวณICS ที่ 6 และทำเครื่องหมายไว้
2.เคาะหาขอบล่างโดย เริ่มเคาะจากMCL ในระดับดือ
เคาะขึ้น ไป เมื่อเริ่มได้ยินเสียงทึบให้ทําเครื่องหมาย
ภาวะปกติ : ได้ยินเสียงทึบของตับในใน MCL ระหว่างICS ที่6 ถึงใต้ชายโครงประมาณ1 นิ้ว และสามารถวัดขนาดตับจาก ขอบบนถึงขอบล่างในแนวMCLได้ประมาณ 10-12 ซม.
การเคาะม้าม
วิธีการตรวจ
1.ให้ผู้ป่วยนอนตะแคงขวามือสองขา้งหนุนใต้ศรีษะ
2.เคาะจาก intercrostalspace ที่ 7-11 ไป
ตามแนว anterior axillalyline ไปหาposterior axillalyline
ภาวะปกติ : เคาะได้เสียงโปร่งแต่พบเสียงทึบ ของม้ามได้ในช่อง9-10
ที่ตําแหน่ง intercrostalspace ที่ 9-10 ที่ตําแหน่ง
การเคาะไต
วิธีการตรวจ
1.ให้ผู้ป่วยนั่งตัวตรง
2.ผู้ตรวจใช้มือที่ไม่ถนัดวางบริเวณ costovertebralangle (CVA)
กํามือที่ถนัดทุบลงมือผู้ตรวจที่วาง แนบบริเวณ CVA ตรวจทั้ง 2 ข้าง
ภาวะปกติ : เคาะไม่เจ็บ
การคลำ (Palpation)
คลำตื้น (Light palpation)
1.ใช้มือข้างใดข้างหนึ่งของผู้ตรวจ วางราบไปกับหน้าท้อง
2.นิ้วมือทั้งหมดชิดกัน
3.ใช้อุ้งนิ้วมือคลําหรือกดวนไปทั่วท้องจากด้าน
ล่างขึ้นด้านบน ลึกประมาณ 1.25 –2 เซนติเมตร
คลำลึก (Deep palpation)
1.ใช้มือข้างหนึ่งวาง ลงบนมืออีกข้างหนึ่ง
2.มือบนใช้กด ความลึกประมาณ 5-8 เซนติเมตร
สังเกตสีหน้าและอาการของผู้รับบริการ
Tenderness เป็นอาการเจบ็เมื่อเอามือกดลงไป
Rebound Tenderness เป็นอาการเจบ็เมื่อเอามือ
กดลงไปแรงๆ แล้วปล่อยทันที
Guarding เป็นลักษณะอาการเจ็บและจะเกร็งหน้าท้อง
Rigidity เป็นลักษณะหน้าท้องแข้งเป็นไม้กระดาน
การตรวจMurphy’s Sign
วิธีตรวจ : กดบริเวณใต้ชายโครงขวาซIึง
เป็นที่อยู่ของถุงนํ้าดี แล้วให้ผู้รับบริการหายใจเข้า
ภาวะปกติ : บริเวณใต้ชายโครงซ้าย กดไม่เจ็บ
การคลำตับ
วิธีที่1 : วางมือขวาราบที่หน้าท้องผู้รับบริการ ให้ปลายนิ้วชี้ ไปทางศีรษะของผู้รับบริการ นิ้วชี้และนิ้วกลางอยู่ด้านนอกของกล้ามเนื้อ Rectus
วิธีที่ 2 : วางมือ 2 ข้างชิดกันบนท้องด้านขวา กดปลายนิ้วและช้อนขึ้นสู่บริเวณ Costal Margin แล้วให้ผู้ป่วยหายใจเข้าลึกๆ
การคลำม้าม
วิธีตรวจ : ใช้มือขวาคลำใตช้ายโครงซ้าย
เข้าไปบริเวณ intercrostalspace ที่ 10-11
ภาวะปกติ : คลําไม่พบ
การคลำไต
วิธีตรวจ : ใช้มือซา้ยช้อนที่เอว มือขวาวางใต้ right costal margin ให้ผู้ป่วยหายใจเข้าแล้วสังเกต ตรวจไตด้านซ้ายทําเช่นเดียวกัน
ภาวะปกติ : คลําได้ขอบล่างของไตข้างขวา ขอบเรียบแข็ง กดไม่เจ็บ ข้างซ้ายคลำไม่ได้
การเตรียมผู้รับบริการ
สร้างสัมพันธภาพ
ให้ผู้ป่วยนอนหงายเปิดเฉพาะส่วนทีIต้องการตรวจ และมีผ้า คลุม มีแสงสว่างเพียงพอ
แนะนาํให้ปัสสาวะและอุจจาระก่อนการตรวจ
การตรวจทวารหนัก
ใช้เทคนิค 2 เทคนิค
การดู
1.ลักษณะของผิวหนังรอบทวารหนัก
2.รอยเกา รอยถลอก
การอักเสบ ริดสีดวงทวาร
4.ถุงน้ํา ฝี พยาธิ
5.การยื่นของลําไส้ส่วน Rectum
การคลำ
วิธีการตรวจ
2.หล่อลื่นปลายนิ้วด้วยK-Y jelly
3.บอกให้ผู้รับบริการเบ่งเหมือนเวลาถ่ายอุจจาระ
4.สอดนิ้วชี้เข้าไป
5.สังเกตความ ตึงของกล้ามเนื้อหูรูด การกดเจ็บ
ก้อนริดสีดวงทวาร หรือสิ่งผิดปกติอื่นๆ
6.เมื่อตรวจเสร็จดึงนิ้วมือออก สังเกตสีอุจจาระที่ติดออกมา มีเลือดหรือสิ่งผิดปกติอื่นหรือไม่
1.ผู้ตรวจสวมถุงมือสะอาด
การเตรียมผู้รับบริการ
1.ให้ผู้ป่วยนอนตะแคงซ้าย (ผู้ตรวจถนัดขวา)
2.งอเข่าทั้ง ข้าง ให้ขาทั้ง 2 ข้าง
วางพักบนเตียงได้อย่างสบาย
3.สวมถุงมือและหล่อลื่นนิ้วด้วย K-Y jelly