Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดในการดูแลบุคคลวัยผู้ใหญ่ ((ระบบย่อยอาหารทำงานลดลง การหลั่งน้ำย่อยลดล…
แนวคิดในการดูแลบุคคลวัยผู้ใหญ่
ภาวะสุขภาพของบุคคลมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาตั้งแต่เกิดจนตาย
ระบบย่อยอาหารทำงานลดลง การหลั่งน้ำย่อยลดลง ความต้องการอาหารลดลง
ระบบผิวหนัง เริ่มมีรอยย่น ผมจะเริ่มร่วงและเจริญเติบโตช้า
สีผม จะเริ่มหงอกขาวเห็นได้ชัดเจนเมื่ออายุ 50 ปี
กระดูกเริ่มเปราะบางและหักง่าย
ฟันจะหักและร่วงหลุด
อวัยวะในการรู้รสและสัมผัสจะมีความเสื่อมลง
วัยผู้ใหญ่ตอนกลางหรือวัยกลางคน อายุ40 ปีถึง60-65 ปี เป็นวัยที่มีความมั่นคงและมีความสำเร็จในชีวิต
วัยผู้ใหญ่ตอนปลายหรือผู้สูงอายุ อายุ 60-65 ปีขึ้นไป เป็นวัยของความเสื่อมถอยของร่างกาย สภาพจิตใจ และบทบาทในสังคม
วัยผู้ใหญ่ตอนต้นหรือวัยหนุ่มสาว อายุ 20-25 ปีถึง 40 ปี วัยนี้มีพัฒนาการเต็มที่ของการร่างกาย จิตใจและอารมณ์
ปัจจัยด้านบุคคล
การบริโภคอาหาร
การนอนหลับ
การออกกำลังกาย
พฤติกรรมทางเพศ
พฤติกรรมที่คุกคามต่อสุขภาพ
การดื่มแอลกอฮอล์
การสูบบุหรี่
การใช้สารเสพติด
อายุ
เพศ
อาชีพ
สถานภาพสมรส
ความเครียด
ความต้องการ
ความต้องการให้สามารถดำรงอยู่ในชีวิตได้
ความต้องการความใกล้ชิด
ความต้องการมีสิทธิเสรีภาพ
พฤติกรรมการเจ็บป่วย
ระยะปรากฏอาการ
ลักษณะทางด้านความคิด
การตอบสนองทางอารมณ์
ลักษณะทางด้านร่างกาย
ระยะตัดสินใจว่าป่วย
เพื่อขอคำแนะนำว่าควรจะทำประการใด
เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าป่วยจริง
ระยะการเข้ารับการรักษาจากแพทย์
ให้การรักษา
ระยะเข้ารับการวินิจฉัยโรค
ระยะรับบทบาทผู้ป่วย
ผู้ป่วยตัดสินใจอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์
ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติตามคำแนะนำ
ระยะพักฟื้นและฟื้นฟูสภาพ
ระยะตัดสินใจออกจากบทบาทผู้ป่วย
กลับบ้านและดูแลตัวเองที่บ้านต่อ
ลักษณะผู้ป่วย
มีความเชื่อ เจตคติ และค่านิยมที่ต่างกัน
จุดมุ่งหมายผู้ป่วยต้องการหายจากโรค
มีความคาดหวัง
มีความต้องการดูแลแตกต่างกัน
ปัญหาที่พบบ่อยบุคคลวัยผู้ใหญ่
ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงด้านจิตใจ
ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงค้านร่างกาย
ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงด้านสังคม
ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงจิตวิญญาณ
ผู้ป่วยทั่วไป
บุคคลที่เจ็บป่วยไม่ใช่ผู้ป่วยวิกฤติ
ผู้ที่มีอาการบาดเจ็บอาการหนักกะทันหัน
มีอาการหนักต่อชีวิตเป็นอันตรายต่อการคุกคาม
ต้องใช้เวลารักษาติดต่อกันนาน
ทัศนคติความคาดหวังของประชาชน
ผู้รับบริการอาจมีอคติต่อวิชาชีพพยาบาล
พยาบาลขาดความรับผิดชอบ
รูปแบบการตัดสินใจเชิงจริยธรรม
C-การพิจารณานำทางเลือก
E-การทบทวนปัญหาจริยธรรม
D-การชี้ให้เห็นถึงปัญหา
I-พิจารณาผลที่ตามมา
D-ตัดสินใจเลือกปฎบัติ
E-การประเมินผลลัพธ์
ปัญหาจริยธรรมที่พบบ่อยในหอผู้ป่วย
การบอกความจริง
การปกปิดความลับ
การยินยอมที่ได้รับการบอกกล่าว
พันธะต่อหน้าที่วิชาชีพกับหน้าที่ต่อตนเอง
การยืดชีวิตผู้ป่วย
ภาวะสุขภาพ
วัยผู้ใหญ่
ภาวะสุขภาพของผู้ใหญ่
ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพวัยผู้ใหญ่
ปัจจัยด้านชีวภาพและปัจจัยประชากร
สุขภาพเบี่ยงเบนทั้งร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านสังคม ด้านสังคม ด้านจิตวิญญาณ
ปัญหาการเลือกคู่ครอง
วิตกกังวลเกี่ยวกับโรคภัยไข้เจ็บ
ขาดที่พึ่งพาทางจิตวิญญาณ
การพักผ่อนไม่เพียงพอ
ผู้ป่วยฉุกเฉิน
ผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤติ
ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ปัญหาจริยธรรมทางการพยาบาล