Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 16 การจัดการกับเด็กกลุ่มพิเศษ (ความแตกต่างการจัดกิจกรรมการสอนผู้เรีย…
บทที่ 16 การจัดการกับเด็กกลุ่มพิเศษ
ปัจจัยด้านการจัดกิจกรรมการสอนผู้เรียนการจัดกิจกรรมการสอนผู้เรียนกลุ่มพิเศษ
การประเมินผลสัมฤทธ์เบื้องต้น
ความรู้สึกไม่ดีต่อนักเรียน
สร้างความรู้สึกให้แก่ผู้เรียน
ทำให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ต่ำกว่าศักยภาพแท้จริง
ครูต้องไม่สร้างความคาดหวังต่อผู้เรียน
ทักษะการอ่าน ทางภาษา
สังเกตการทำงานของนักเรียน
ทำงานถูกต้องสมบรูณ์
ำงานสำเร็จหรือไม่
ความสมารถในการตั้งใจทำงาน
การได้รับการพัฒยาเป็นพิเศษ
การเตรียมกิจกรรมการสอน
ตั้งใจทำงานจนเสร็จในเวลาที่มอบหมาย
ครูควรตระหนักเกี่ยวกับการอ่าน
การเขียนได้
การสะกดคำเป็น
การอ่านออก
เครื่องมือแหล่งข้อมูล
การสังเกตเป็นรายบุคคล
ข้อมูลจากแฟ้ม
การทดสอบ
ผลสัมฤทธ์ทางการเรียน
ข้อมูลเบื้องต้น
ระดับการอ่าน
ครูเก็บรวบรวมข้อมูลที่มีอยู่อย่างระมัดระวังใหู้กต้องตามสภาพจริง
ข้อมูลหลักฐานในการกรอกข้อมูลเอกสารต่างๆ
เมื่อต้องการข้อมูลที่แท้จริง
เปิดโอกาสให้ครูได้รู้จักนักเรียน
ครูสามารถแก้ไข้ปัญหาให้นักเรียนได้
ผู้เรียนกล้าที่จะพูดกับครู
ผู้เรียนจะได้คุ้นเคยกับครู
ให้ความสนใจนักเรียนที่ย้ายมาจากสถานศึกษาอื่น
ใกล้ชิดกับนักเรียน
ศึกาาประวัตินักเรียน
ให้ความสนใจเป็นพิเศษ
ความแตกต่างการจัดกิจกรรมการสอนผู้เรียนกลุ่มพิเศษ
กำหนดกลุ่มพิเศษ
การเคลื่อนย้ายผู้เรียน
ผู้เรียนจะต้องทราบต้องฎิบัติตนอย่างไรขณะเปลี่ยนห้องเรียน
ครูติดตามดูแลผู้เรียนขณะย้ายห้องเรียน
การเตือนผู้เรียน
ผู้เรียนอาจหลงลืม
ผู้เรียนรบกวนผู้เรียนคนอื่น
เตือนเรื่องเอกสารประกอบการเรียน
กฎกระบวนการ
การปฎิบัติตามกฎของครู
ดูแลให้ผู้เรียนปฎิบัติตามกฏ
วางแผนเรื่องกฎตามกระบวนการ
ปฎิบัติเหมือนกัน
1.1กลยุทธทความแตกต่างระหว่างบุคคล
การสอนเป็นทีม
มีครู 1 คนต่อหนึ่งกลุ่ม
ครูให้คำปรึกษาทุกคนในกลุ่ม
ไม่แบ่งแยกนักเรียน
แยกนักเรียนเป็นกลุ่ม
ให้ความช่วยเหลือนักเรียนทั่วถึง
แบ่งภาระงานตามความสามารถ
แบ่งกลุ่มนักเรียนตาม เก่ง ปานกลาง อ่อน ให้อยู่กลุ่มเดียวกัน
รวมเป็นหนึ่งกลุ่มย่อยๆในแต่ละวิชา
แบ่งทีมตารางสอนวิชาต่างๆ
ไม่กินเวลาวิชาอื่น
แบ่งเวลาให้เหมาะสม
1.2 การปรับการสอนผู้เรียน
คำแนะนำ
ใช้คำตอบเพื่อต้องการคำตอบ
ครูเตรียมคำแนะนำปากและลายลักษณ์อักษร
ชี้แนวทางหรือแนะนำ
การสอนแบบให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม
เรียกชื่อผู็เรียนให้ตอบในระหว่างเรียน
ให้ความสนใจในเรื่องที่นักเรียนถาม
ใช้คำถาม
ให้ร่วมกันรายงานเป็นขั้นๆ
อธิบาย,อภิปราย
เปิดโอกาสให้ผู็เรียนได้สักถาม
การจัดที่นั่งผู้เรียน
นั่งให้พอดีไม่อึดอัดจนเกินไป
ครูเดินเข้าถึงนักเรียนทุกคน
จัดให้นั่งแถวหน้า
นั่งสับหว่าง มองเห็นกระดานได้ชัดเจน
ให้นั่งเพื่อนสนิท
การให้งานแก่ผู้เรียน
ให้งานผู้เรียนเหมือนกันทั้งห้อง
ครูควรให้งาน 2 ลักษณะ ให้เหมาะสมกับผู้เรียนแต่ละคน
ไม่เน้นการแข่งขัน
1.3 การสอนเป็นรายบุคคล
การเปลี่ยนกิจกรรม
เกิดความสับสน
ไม่รู้ว่าตัวเองต้องการอะไร
ทำงานล่าช้า
ทำให้เสียเวลา
ความร่วมมือของผู้เรียน
จับคู่กันทำงาน
ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
ความช่วยเหลือจากเพื่อน
เกิดความร่วใมือในการทำงานเป็นกลุ่ม
การเดินไปมาของผู้เรียน
การพูดคุยกับนักเรียน
หาวิธีป้องกันแก้ปัญหา
พูดโน้มน้าวให้ผู้เรียนทำงานให้สำเร็จ
การพูดให้กำลังใจ
มอบหมายงานที่ท้าทาย
ส่งเสริมความสามารถ
ปรับแบบฝึกหัดให้เหมาะสม
การควบคุมดูแลผู้เรียน
ควบคุมดูแลในการเดินไปเดินไปทำกิจกรรมหนึ่งไปนังกิจกรรมหนึ่ง
รบกวนผู้อื่น
ต้องรู็ว่าผู้เรียนทุกคนกำลังทำงานอะไรอยู่
ควรมีกฎกติกาตกลงก่อนเรียน
1.4 การสอนผู้เรียนต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษ
ผู้เรียนมีความบกพร่องเรื่องการเรียน
ด้านอารมณ์
คับข้องใจง่าย
โกธรง่ายไม่มามารถควบคุมได้
แสดงอารมณ์รุนแรง
อย่าสร้างความกดดัน
ปัญหาระยะสั้นและอยู่นิ่งไม่ได้
เคลื่อนไหวตลอดเวลา
หุนหัน
มีปัญหาทางภาษาอังกฤษ
วอกแวก
ผู้เรียนไม่ใส่ใจ
ผู้เรียนหูตึง
ความบกพร่องภาษา
การหลงลืม
การลืมระยะสั้น
การโกธรง่าย
อารมณ์แปรปวน
ด้านการใช้ภาษา
การพูดสื่อสาร
การอ่าน การเขียน
ความหมดหวัง
ไม่อยากทำงานต่อ
หมดกำลังใจ
สิ้นหวัง
การบริหารจัดการในห้องเรียนกลุ่มพิเศษ
การจัดการและการดำเนินการสอน
สร้างพฤติกรรมอันพึงประสงค์
แตกย่อยเนื้อหาสาระเป็นส่วนๆ
ส่งเสริมการเรียนให้สร้างสรรค์
ฝึกคิด จินตนาการ
การสร้างเจตนคติที่ดี
ผู้เรียนมีความสมารถสูง
สอนให้มีความท้าทาย
เนื้อหายากเหมาะสม
สอนให้เรียนรู้อย่างสร้างสรรค์
การสอนโดยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม
ครูให้นักเรียนช่วยกันอ่านโจทย์พร้อมๆกัน
ให้นักเรียนออกมาทำหน้าห้องเรียนให้เพื่อนช่วยกันตอบ
ถามเพื่อต้องการคำตอบ
การสอนซ่อมเสริม
ครูเตรียมเอกสารประกอบการเรียน
ทบทวนเนื้อหา
สอนใหม่ให้เข้าใจเป็นรายบุคคล
ใบงานหรือแบบฝึกหัดที่เข้าใจง่าย
การวางแผนการสอนซ่อมเสริม
สอนซ่อมควรพยายามให้เป็นการสอนรายบุคคลให้มากที่สุด
กระตุ้นให้ผู้เรียนรู้จักการประเมินตนเอง
เพื่อนสอนเพื่อน
วางแผนการสอนซ่อมอย่างเป็นลำดับขั้น พยายามให้ง่าย ไม่ซับซ้อน
เปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดงออกถึงความเข้าใจด้วยภาษาของตนเอง
ครูจัดหารเวลาสอนซ่อมเสริมให้นักเรียน
ซ่อมเสริมเป็นกลุ่ม
ซ่อมเสริมเป็นรายบุคคล
การเตรียมบุคลากร
การจัดครูเข้าสอน
การใช้สื่อการเรียนการสอน
นางสาวปิยนาถ ลิ้มวิจิตร 6120160469 เลขที่ 28