Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิเคราะห์สถานการณ์การแพร่ระบาดไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19)…
วิเคราะห์สถานการณ์การแพร่ระบาดไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) กับระบบสุขภาพของไทยที่ส่งผลต่อสุขภาพของประชาชน :!?:
การบริการสุขภาพ
:checkered_flag:
อสม เคาะบ้านต้านโควิด-19 ศูนย์ปฏิบัติการเฝ้าระวังโควิด-19 ระบบตำบล
3. ส่งต่อและแจ้งเจ้าหน้าที่สาธาณณะสุขใกล้บ้าน
2. การคัดกรอง
กลุ่มคนปกติ
มีสุขภาพแข็งแรง ไม่เป็นกลุ่มเสี่ยง เฝ้าระวังป้องกันตนเอง
กลุ่มเสี่ยง
มีไข้ ไอ คัดจมูก จาม เจ็บคอ
ผู้ที่เดินทางมาจากประเทศที่มีการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า (โควิด-19) แต่ยังไม่มีอาการ
สังเกตอาการที่บ้านอย่างน้อย 14 วัน
แสดงสัญลักษณ์สำหรับครัวเรือนที่
ได้รับการคัดกรองแล้ว
4. เยี่ยมตอดตามรายงานผล อย่างน้อย 2 สัปดาห์
1. อสม เคาะประตูบ้าน แจ้งข่าวให้ความรู้แนะนำประชาชน "กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ สวมหน้ากากอนามัย ออกกำลังกาย"
การบริหารจัดการ
:checkered_flag:
พรก.ฉุกเฉิน ฉบับที่ 2 (เคอร์ฟิว)ตั้งแต่วันที่ 3 เมษายน 2563
ห้ามบุคคลออกนอกเคหสถาน
ระหว่าง
เวลา 22.00 นาฬิกาถึง 04.00 นาฬิกาของวันรุ่งขึ้น
เว้นแต่มีความจำเป็นหรือเป็นเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานตามข้อกำหนด ประกาศ หรือคำสั่งต่าง ๆ ของทางราชการ
ฝ่าฝืน
ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 40000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ในกรณีที่มี
การประกาศ หรือสั่ง ห้าม เตือนหรือแนะนำ
ในลักษณะเดียวกับข้อ 1 วรรคหนึ่ง สำหรับจังหวัด พื้นที่หรือสถานที่ใดโดยกำหนดเงื่อนไขหรือเงื่อนเวลาที่เข้มงวดหรือเคร่งครัดกว่าข้อกำหนดนี้
ให้ปฏิบัติตามประกาศหรือคำสั่งนั้นต่อไปด้วย
ในกรณีที่
ไม่อาจเคลื่อนย้ายบุคคลใด
ซึ่งอยู่ระหว่างการเดินทางเพื่อออกไปนอกราชอาณาจักรได้ ให้คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดหรือคณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร
จัดที่เอกเทศ
เพื่อควบคุมหรือกักกันบุคคลดังกล่าว เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคตามเงื่อนไขและระยะเวลาที่กำหนด
มาตรการกักตัว 14 วัน
วัดอุณหภูมิร่างกาย
ทุกวัน
คอยสังเกตอาการของตนเอง เช่น
มีไข้ 37.5 องศาเซลเซียสขึ้นไป
ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ หายใจหอบเหนื่อย
บันทึกในรายการ
หรือทางเว็บไซต์ตามที่ตกลงไว้เป็นประจำทุกวัน
หากพบอาการป่วยอย่างใดอย่างหนึ่ง
ควรพบแพทย์ทันที
และให้แจ้งเจ้าพนักงานควบคุม/หน่วยงานสาธารณะสุขในพื้นที่
ทรัพยากรด้านสุขภาพ
:checkered_flag:
การขาดแคลนหน้ากากอนามัยทั้งบุคลากรทางการแพทย์และประชาชน
ซึ่งสิ่งเป็นสิ่งสำคัญที่สามารถช่วยป้องกันการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า (COVID-19) ได้
ผู้ค้าบางรายถือโอกาส
เกร็งกำไรสูง
โดยการขายหน้ากากอนามัยในราคาที่สูงขึ้น กล่องละ 800 - 1,200 บาท ซึ่ง
สูงกว่าราคาปกติเกือบ 10 เท่า
อาจเกิดการ
กักตุน
หน้ากากอนามัย เพื่อเอื้อประโยชน์ให้นายทุนเก็งกำไร
ประชาชนมีความวิตกกังวล เกิดความเครียด เพราะ
ไม่มีอุปกรณ์ป้องกันตนเอง
บุคลากรทางการแพทย์
ทั้งภาครัฐและเอกชนยังคง
ขาดแคลน
หน้ากากอนามัย และชุดป้องกันไวรัสในการปฏิบัติหน้าที่
มีผู้เจ็บไข้ได้ป่วยจำนวนมากขึ้น ย่อมส่งผลกระทบไปถึงข้อจำกัดในการจัดสรรทรัพยากรด้านสาธารณสุขของประเทศ ทั้งทางด้านกำลังคน งบประมาณ สถานที่ และอุปกรณ์ทางการแพทย์ต่าง ๆ
การเงินการคลัง
:checkered_flag:
ผลกระทบต่อการเจ็บไข้ได้ป่วยและการเสียชีวิต จากการการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 จะต้องเริ่มจากผลกระทบด้านสุขภาพเป็นอย่างแรก ซึ่งผลกระทบนี้จะเริ่มตั้งแต่ การที่มีผู้เจ็บป่วยจากการติดเชื้อจำนวนมาก อันนำมาสู่ค่าใช้จ่ายในการรักษา และร้ายที่สุดก็คือการเสียชีวิต
ผลกระทบต่อการจ้างงาน ค่าจ้าง ความยากจน และความเหลื่อมล้ำ เมื่อมีผู้เจ็บป่วยจากการติดเชื้อเป็นจำนวนมาก ย่อมส่งผลไปสู่การสูญเสียรายได้ ซึ่งจะส่งผลกระทบไปสู่ค่าใช้จ่ายภายในครัวเรือน โดยเฉพาะกับกลุ่มผู้สูงอายุซึ่งจะมีแนวโน้มของการติดเชื้อไวรัสนี้มากที่สุด
ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของเชื่อไวรัสโควิด-19 นี้ จะส่งผลต่อเนื่องไปสู่ระดับความยากจนและความเหลื่อมล้ำที่จะเพิ่มสูงขึ้นได้
ภาคอุตสาหกรรมการผลิตประสบปัญหาการชะงักงันในการผลิต โดยเฉพาะภาคอุตสาหกรรมที่จะต้องพึ่งพาการนำเข้าจากประเทศจีน โดยเฉพาะกับประเทศกำลังพัฒนาอย่างประเทศไทยที่ระบบเศรษฐกิจจำต้องพึ่งพาการค้าระหว่างประเทศเป็นสำคัญ
การเกิดผลกระทบทางลบด้านอุปทานการผลิต ส่งผลต่อสภาวะการเงินเฟื้อในสินค้าที่จำเป็นบางประเภทได้ เช่น หน้ากากอนามัย หรือเจลล้างมือ เกิดสินค้าขาดแคลนและผู้ขายเห็นช่องทางในการเก็งกำไร
โครงสร้างองค์กร
:checkered_flag:
สื่อสารนโยบายและมาตรการที่เกี่ยวข้อง ให้พนักงานทราบวิธีปฏิบัติตนเพื่อหลีกเลี่ยงสถานการณ์เสี่ยงที่จะทำให้ตนเองได้รับเชื้อโคโรนา และสื่อสารมาตรการในการดูแลและป้องกันสุขภาพของพนักงานและต้องให้พนักงานปฏิบัติอย่างเคร่งครัดอย่างต่อเนื่องเป็นประจำผ่านช่องทางที่เข้าถึงง่าย เช่น Line กลุ่ม
จัดสรรแยกกลุ่มพนักงานเพื่อบริหารความเสี่ยง โดยการแบ่งกลุ่มพนักงานในฝ่ายงานสำคัญต่าง ๆ อย่างน้อย 2 กลุ่ม โดยไม่ให้พบปะกันโดยตรง เพื่อลดความเสี่ยงการติดเชื้อทั้งกลุ่ม แยกกลุ่มพนักงานที่มีความเสี่ยงสูงเช่น พนักงานขาย ออกจากพนักงานที่มีความเสี่ยงต่ำกว่า และปรับใช้เทคโนโลยีเพื่อให้พนักงานสามารถทำงานคนละที่ได้ เช่น Video Conference และ Collaboration tools ต่าง ๆ
ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อลดความเสี่ยงในการติดเชื้อ “เครื่องสแกนลายนิ้วมือ” ถือเป็นแหล่งสะสมเชื้อโรค แม้มีการดูแลทำความสะอาดอยู่เสมอก็ตาม องค์กรควรพิจารณาหันมาใช้ระบบจดจำใบหน้าแบบชีวภาพ ปรับเปลี่ยนการชำระเงินเป็นแบบไร้เงินสดเพื่อลดการใช้ ธนบัตรหรือเหรียญ ซึ่งมีปัจจัยเสี่ยงในการแพร่กระจายไวรัส เพื่อลดความเสี่ยงในการติดเชื้อโรคจากผู้ใช้งานเพื่อลดความเสี่ยงในการติดเชื้อระหว่างบุคคล