Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การจัดระบบสารสนเทศภายในสถานศึกษาเพื่อการบริหารและการประกันคุณภาพ…
บทที่ 5
การจัดระบบสารสนเทศภายในสถานศึกษาเพื่อการบริหารและการประกันคุณภาพ การศึกษาของสถานศึกษา
หลักการบริหารสถานศึกษา
3)
การกระจายอำนาจ
เป็นการกระจายอำนาจด้านการบริหาร จัดการ ด้านวิชาการ งบประมาณ การบริหารบุคคล และการบริหารทั่วไป ให้คณะกรรมการ เขตพื้นที่การศึกษาและคณะกรรมการสถานศึกษาเป็นผู้รับผิดชอบ
4)
ความรับผิดชอบตรวจสอบได้
มีการกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบ และภารกิจของผู้รับผิดชอบเพื่อเป็นหลักประกันคุณภาพการศึกษาให้เกิดขึ้น
2)
การมีส่วนร่วม
ให้บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการจัดการศึกษาเข้ามามีส่วนร่วมเป็นคณะกรรมการร่วมแสดงความคิดเห็นหรือร่วมกำกับติดตามดูแล
5)
ธรรมาภิบาล
เป็นหลักคิดสำหรับการบริหารจัดการที่ดีเพื่อประกันว่าในองค์การจะไม่มีการฉ้อราษฎร์บังหลวง ไม่ด้อยประสิทธิภาพ
1)
ยึดโรงเรียนเป็นศูนยก์ลางในการตัดสินใจ
เป็นแนวคิดที่มุ่งให้โรงเรียนมีอิสระในการตัดสินใจด้วยตนเองโดยยึดประโยชน์ที่จะเกิดกับผู้เรียนเป็นสำคัญ
6)
ความเป็นนิติบุคคล
เป็นการให้สิทธิและอำนาจหน้าที่ที่กำหนดไว้เป็นของตนเอง
การบริหารสถานศึกษา
หน้าที่ในการบริหารสถานศึกษา
2) การจัดองค์กร (Organizing) หมายถึง กระบวนการจัดการทรัพยากรต่างๆ และการจัดระบบการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายขององค์การ
3) การนำ (Leading) หมายถึง การอำนวยการและการประสานงาน เพื่อให้บุคลากรปฏิบัติงานบรรลุเป้าหมายขององค์การ ซึ่งต้องอาศัยภาวะผู้นำของผู้บริหาร
1) การวางแผน (Planning) หมายถึง การตัดสินใจล่วงหน้าว่าจะดำเนินการ อย่างไรให้บรรลุและวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพเกิดประโยชน์ต่อองค์การมากที่สุด
4) การควบคุม (Controlling) หมายถึง การกำกับให้การดำเนินงานและกิจกรรมต่างๆ ที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามเป้าหมายและแผนขององค์การที่ได้กำหนดไว้
ภารกิจในการบริหารสถานศึกษา
ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 มาตรา 39 และกฎกระทรวงกำหนด หลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา พ.ศ.2550 ให้กระทรวงกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา
กระบวนการการบริหารคุณภาพภายในสถานศึกษา
2) กระบวนการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (SBM)
3) กระบวนการบริหารอื่น ๆ ที่โรงเรียนนำมาใช้ตามความแตกต่างของโรงเรียน เช่น PMQA, TQM, RMB เป็นต้น
1) กระบวนการ (PDCA)
การจัดโครงสร้างระบบบริหารงานที่เอื้อต่อการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ ภายในของสถานศึกษา
จัดโครงสร้างหรือระบบบริหารงานของสถานศึกษาที่ เอื้อต่อการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของ สถานศึกษา
กำหนดผู้รับผิดชอบและจัดระบบสารสนเทศให้เป็น หมวดหมู่ ครอบคลุม เป็นปัจจุบัน สะดวกต่อการเข้าถึง และการให้บริการ
นำข้อมูลสารสนเทศไปใช้ประโยชน์ในการบริหารและ การพัฒนาการเรียนการสอน
ภารกจิในการบริหารสถานศึกษา
กระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา ทั้งด้านการบริหารงานวิชาการ การบริหารงบประมาณ การบริหารงานบุคคล และ การบริหารงานทั่วไป ไปยังเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาโดยตรง
ความสัมพันธ์ระหว่างระบบบริหารและสารสนเทศกับระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
มีระบบการบริหารและการจัดการศึกษาที่นำไปสู่คุณภาพของผู้เรียน รวมถึงระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ เป็นระบบ ถูกต้อง สมบูรณ์ เป็นปัจจุบันและสามารถเรียกใช้ข้อมูลสารสนเทศได้ตลอดเวลา
ระบบสารสนเทศในสถานศึกษา
โดยทั่วไปการจัดระบบสารสนเทศจะมีขั้นตอนการดำเนินงานดังนี้
การประมวลผลข้อมูล
การเปลี่ยนแปลงข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่นำไปใช้ประโยชน์ได้
การนำเสนอข้อมูลและสารสนเทศ
ทำเป็นตาราง แผนภาพ กราฟ หรือการบรรยายเป็นความเรียง ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของการนำไปใช้และลักษณะของสารสนเทศนั้นๆ
การตรวจสอบข้อมูล
ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลก่อน โดยพิจารณาจากความถูกต้อง ความสมบูรณ์และความเป็นปัจจุบันของข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศ
เก็บเป็นแฟ้มเอกสาร แฟ้มอิเล็กทรอนิก
การรวบรวมข้อมูล
กำหนดรายการข้อมูลที่ต้องการ กำหนดวิธีการจัดเก็บ สร้างหรือจัดหาเครื่องมือในการ จัดเก็บให้สอดคล้องกับลักษณะของข้อมูลและแหล่งข้อมูล
องค์ประกอบของระบบบริหารภายในสถานศึกษา
ผลผลิต (Output) เป็นสิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้นตามวัตถุประสงค์ของระบบ
ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) ชี้ให้เห็นข้อดีและข้อบกพร่องของปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และผลผลิต ซึ่งจะนำไปสู่การปรับปรุงเพื่อให้มีคุณภาพที่ดีขึ้น
กระบวนการ (Process) เป็นการทำหน้าที่แปรสภาพทรัพยากรหรือประมวลผลให้เป็นผลผลิต
สภาพแวดล้อม (Environment) เป็นสภาพทั่วไปของบริบทที่อยู่ล้อมรอบระบบ หรือองค์การ
ปัจจัยนำเข้า (Input) เป็นทรัพยากรหรือสิ่งที่จำเป็นเพื่อนำไปสู่ระบบและก่อให้เกิดการทำงาน
การกำหนดผู้รับผิดชอบและจัดระบบสารสนเทศ
การจัดระบบบริหารและสารสนเทศที่เอื้อต่อการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
มีการกำหนดผู้รับผิดชอบและจัดระบบสารสนเทศให้เป็นหมวดหมู่ ครอบคลุม เป็นปัจจุบัน สะดวกต่อการเข้าถึงและการให้บริการ คำนึงถึงหลักการมีส่วนร่วม หลักธรรมาภิบาล การกระจายอำนาจ ความโปร่งใสตรวจสอบได้
การจัดระบบสารสนเทศให้เป็นหมวดหมู่
รูปแบบที่ 2 จัดระบบเพื่อเตรียมพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
รูปแบบที่ 3 จัดระบบตามลักษณะข้อมูลสารสนเทศที่จำเป็นเพื่อการพัฒนา คุณภาพการศึกษา
รูปแบบที่ 1 จัดระบบตามลักษณะข้อมูล
รูปแบบที่ 4 จัดระบบตามภารกิจการบริหารและการจัดการศึกษาของ สถานศึกษาและบุคลากร
ความสำคัญของการบริหารสถานศึกษา
ระบบการบริหารสถานศึกษา หมายถึง กิจกรรมทั้งมวลที่จำเป็นต่อการธำรงรักษา และดำเนินการภายในสถานศึกษาเพื่อให้บรรลุจุดประสงค์ของสถานศึกษา การบริหารสถานศึกษา เป็นภารกิจหลักของสถานศึกษาที่จะต้องกำหนดแบบแผน วิธีการ และขั้นตอนต่างๆ ในการปฏิบัติงานไว้อย่างเป็นระบบ นักบริหารที่ดีต้องรู้จักเลือกวิธีการบริหารที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพเพื่อจะให้งานนั้นบรรลุจุดมุ่งหมายที่กำหนดไว้
การนำข้อมูลสารสนเทศไปใช้ประโยชน์
การใช้ประโยชน์จากการใช้เทคโนโลยีในการจัดการระบบสารสนเทศใน สถานศึกษาในรูปของโปรแกรมประยุกต์
การใช้ประโยชน์จากระบบข้อมูลสารสนเทศทั่วไป