Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการบริหารแบบนีโอคลาสิกหรือดั้งเดิม - Coggle Diagram
ทฤษฎีการบริหารแบบนีโอคลาสิกหรือดั้งเดิม
เป็นทฤษฎีที่เน้นการบริหารที่ตัวงาน อย่างมีระเบียบแบบแผน มีกฏเกณฑ์และเหตุผล
ทฤษฎีระบบเชิงวิทย่าศาสตร์
Frederick winslowtaylor
บิดาแห่งการบริหารเชิงวิทยาศาสตร์
เสนอหลักการไว้ 4 ประการ ได้แก่ กำหนดวิธีการทำงานทดแทนการทำแบบลองผิดลองถูก,มีการวางแผนแทนที่จะให้คนเลือกวิธีการเอง,คัดเลือกคนงานที่มีความสามารถแล้วฝึกอบรม,ใช้หลักแบ่งงานกันทำ
Henry L Gantt
ได้นำเอาเทคนิคการจัดตารางสำหรับการควบคุมการปฏิบัติงานมาใช้เพื่อปรับปรุงและยกระดับประสิทธิภาพในการทำงานเป็นลักษณะตารางเส้นตรงที่กำหนดเวลาในอนาคตไว้ในแนวนอนและงานที่ปฏิบัติไว้ในแนวตั้ง
Frank Bunker Gillbreth
ทำการศึกษาความเคลื่อนไหว ความเบื่อหน่ายและผลกระทบของสภาพแวดล้อมในการทำงานที่มีคนงาน สนับสนุนแนวคิดของเทเลอร์ โดยการจัดทำภาพยนตร์แสดงความเคลื่อนไหวของคนงานในการทำงาน สรุปได้ว่าการทำงานด้วยการแบ่งงานออกตามความชำนาญเฉพาะด้านและแบ่งงานเป็นส่วนๆ จะทำให้งานออกมาดีและถ้าได้มีการวิเคราะห์งานอย่างละเอียดถี่ถ้วนให้ทำงานต่อเนื่องกันเป็นกระบวนการตามหลักวิทยาศาสตร์ซึ่งทำให้เกิดงานแบบประจำ
Lilian Gillbreth
ศึกษาปริญญาเอกด้านจิตวิทยา เป็นศาสตร์ช่วยส่งเสริมงานด้าน Mictior Studies ให้ดียิ่งขึ้นเมื่อเรียนสำเร็จปริญญาเอก ทั้งคู่ร่วมมือกันศึกษาการบริหารโดยใช้หลักวิทยาศาสตร์ ถือเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์อุตสาหกรรมที่มีการศึกษาเป็นแบบแผน
ทฤษฎีการจัดการเชิงบริหาร
Luther Gulick & LyndallUrwick
ได้เพิ่มกระบวนการบริการที่ Fayol ให้ไว้ 5 ประการ เป็น 7 ประการและเป็นที่รู้จักกันในนาม POSDCoRB ซึ่งได้รับความนิยมอย่างกว้างขวางจนถึงปัจจุบัน
อานและอัคคาเบย์ ได้กำหนดกระบวนการบริหารการพยาบาลไว้ 4 ขั้นตอน คือ การวางแผน การจัดองค์กร กำอำนวยการ และการควบคุม ในปี 1997 มารีนเนอร์ เห็นว่าบางขั้นตอนซ้ำซ้อนจึงปรับลดลงให้เหลือ 5 ขั้นตอนคือ การวางแผน การจัดองค์กร การจัดบุคลากรอำนวยการและการควบคุม
Henry Fayol
ผู้บุกเบิกแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการเชิงบริหาร ผู้บริหารจะประสบผลความสำเร็จได้ หากเข้าใจหน้าที่พื้นฐานและหลักการบริหารพอดี
ระบุหน้าที่พื้นฐานหรือกระบวนการบริหารที่ผู้บริหารต้องปฏิบัติ ไว้ 5 ประการ คือ การวางแผน การจัดองค์การ การบังคับบัญชาและสั่งการ การประสานงาน การควบคุม
ฟาโยลได้พัฒนาหลักการบริหารขึ้น 14 ประการ ดังนี้ แบ่งงานกันทำ อำนาจหน้าที่ในการบังคับบัญชา การมีระเบียบวินัย ความเป็นเอกภาพในการบังคับบัญชา เอกภาพในทิศทาง หลักผลประโยชน์ ความยุติธรรมต่อนายจ้างและลูกจ้าง การรวมศูนย์อำนาจ การมีสายบังคับบัญชา ความเป็นระเบียบแบบแผน ความเสมอภาค ความมั่นคงในการทำงาน ความริเริ่มสร้างสรรค์ ความสามัคคี
ทฤษฎีระบบราชการ
แมกซ์ วีเบอร์ นักสังคมวิทยาชาวเยอรมัน เสนอทฤษฎีที่เป็นแนวคิดเกี่ยวกับโครงสร้างขององค์กร ซึ่งมีลักษณะสำคัญ 7 ประการ
4.บุคคลากรต่างทำหน้าที่ที่กำหนดไว้อย่างเป็นทางการ
5.การจ้างงานใช้หลักคุณสมบัติทางวิชาชีพ
3.มีการกำหนดระเบียบข้อบังคับ กฎเกณฑ์ต่างๆ
6.มีความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่
2.มีการจัดระบบตำแหน่งหน้าที่ตามสายบังคับบัญชาระดับสูงมายังระดับต่ำ
7.มีอำนาจหน้าที่ตามตำแหน่ง
1.มีการแบ่งงานกันทำ