Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ชุมชนเข้มแข็ง, นางสาวเกตน์นิภา เกทะโล รหัส 603901003 เลขที่ 2…
ชุมชนเข้มแข็ง
คุณลักษณะที่สะท้อนถึงชุมชนเข้มแข็ง
สมาชิกของชุมชนมีความเชื่อมันในศักยภาพของตน และชุมชนที่จะแก้ไขปัญหา พัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ของตนเอง
สมาชิกทุกคนมีส่วนร่วมในการกำหนดวิสัยทัศน์ร่วมกับผู้นำ ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ และดำเนินงาน
มีการใช้ทรัพยากรของชุมชนร่วมกับกระบวนการทำงาน และพัฒนาให้ทรัพยากรที่มีอยู่เกิดประโยชน์สูงสุดต่อชุมชน
มีผู้นำที่แสดงให้เห็นถึงการจัดการและพัฒนาศักยภาพของผู้ร่วมงานให้สูงขึ้น
สมาชิกชุมชนมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในหมู่บ้าน ร่วมกันคิด วางแผน บริหารจัดการ โดยใช้เวทีประชาธิปไตย เพื่อสร้างอัตลักษณ์ หรือมีอิสระภาพตามวิถีชุมชม และเกิดการเรียนรู้ผ่านการแลกเปลี่ยนความคิด
มีแผนของชุมชนที่ประกอบด้วยการพัฒนาทุก ๆ ด้านของชุมชน ที่มุ่งการพึ่งพาตนเอง เอื้อประโยชน์ต่อสมาชิกชุมชนทุก ๆ คน และมุ่งหวังการพัฒนาชุมชนที่ยั่งยืน
มีเครือข่ายความร่วมมือกับภาคีการพัฒนา อาจเป็นหมู่บ้านชุมชนอื่น ๆ ท้องถิ่น ภาคราชการ องค์กรเอกชน และอื่น ๆ เช่น ความร่วมมือของภาคประชาชน ภาคท้องทุ่ง ภาคท้องถิ่น และภาคท้องที่ ซึ่งเป็นหน่วยงานของรัฐและเอกชน
กลวิธีและกิจกรรมเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัวและชุมชน
การเตรียมคน
และโครงสร้างทางกายภาพ
การเตรียมคน
การเสริมสร้างศักยภาพและการพัฒนาทักษะ
ในกลุ่มของชุมชนในการดำเนินงานเพื่อแก้ปัญหา
การเตรียมโครงสร้างทางกายภาพ
พื้นที่สำหรับใช้เป็นศูนย์รวมใจ
ในการพบปะของสมาชิกในชุมชน
ช่องทางและรูปแบบของการเชื่อมโยงและการสื่อสาร
เช่น วิทยุชุมชน ที่ชุมชนแม่ทาจัดทำขึ้นเพื่อติดต่อสื่อสาร
การกำหนดประเด็นปัญหาของ
ชุมชน และการพัฒนาทางเลือก
กำหนดและวางกรอบประเด็นปัญหา
โดยชุมชนมีการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
ชุมชนได้ริเริ่มคิดค้นกิจกรรม
เพื่อแก้ไขปัญหาที่ประสบอยู่
การสร้างหุ้นส่วนในระดับชุมชน
การจัดการปรับงานและวิธีการ
ทำงานของบุคคลภาครัฐ
พัฒนากิจกรรมโดยดำเนินการผ่านการสร้างศักยภาพ
การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร
พัฒนาแผนตำบลและสร้างเครือข่ายการสื่อสาร
การเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับ อปท.
พัฒนานโยบายสาธารณะ
การบูรณาการแผนเสริมชุมชนเข้มแข็ง
การพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
การดำเนินกิจกรรมชุมชน "กิจกรรมสาธารณของชุมชน"
สร้างคนให้มีความรู้ โดยไม่ต้องพึ่งพาหน่วยงานภายนอก
ปัจจัยภายในและภายนอกชุมชนที่มีผลต่อความสำเร็จในการเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัว และชุมชน
ปัจจัยภายใน
ผู้นำชุมชน
การมีส่วนร่วมของประชาชน
กระบวนการจัดการชุมชน
ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมชุมชน
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ปัจจัยภายนอก
การสนับสนุนจากหน่วยงานภาครัฐและเอกชน
แนวคิดและหลักการที่ใช้ในการเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัวและชุมชน
มีความรู้สึกว่าตนเองเป็นส่วนหนึ่งของชุมชน
การที่สมาชิกหรือประชาชนในชุมชนรวมตัวกัน
มีการเรียนรู้ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในหมู่บ้าน ตำบล
เพื่ออัตลักษณ์ และการมีอิสระภาพตามวิถีชุมชน มีการจัด
เวทีประชาคม เพื่อระดมความคิดเห็น เพื่อให้เกิดแนวทาง
การแก้ไขปัญหา
สมาชิกหรือประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน สร้างจิตสาธารณะ เพื่อตำบล มีการพัฒนาผู้นำการเปลี่ยนแปลง และมีการจัดสร้างวิทยุชุมชนคนรักป่าแม่ทา เป็นศูนย์รวมการสื่อสาร
ทำให้ชุมชนเข้มแข็งสามารถพึ่งตนเอง เกิดการดูแลตนเองโดยภาคประชาชนอย่างสมบูรณ์
กระบวนการในการเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัวและชุมชน
นำประเด็นปัญหามาพูดคุยกัน วิเคราะห์
และหาทางแก้ไขปัญหาร่วมกันในชุมชน
มีการบริหารจัดการ ร่วมกันคิด วางแผน โดยใช้กลไกเวทีประชาธิปไตย
บูรณาการทำงานร่วมกับหน่วยงานต่างๆ ความร่วมมือของภาคประชาชน ภาคท้องถิ่น ภาคท้องที่ ทั้งของรัฐบาลและเอกชน
มีการดําเนินงานในชุมชนที่มีกิจกรรมต่าง ๆ ภายในชุมชน โดยชุมชนเป็นผู้บริหารจัดการเอง
เป็นแหล่งเรียนรู้ให้ประชาชน หรือหน่วยงานอื่นมาเรียนรู้ และเพื่อเป็นต้นแบบให้กับผู้อื่นได้ หรือชุมชนอื่น ๆ ได้
การเลือกใช้ทรัพยากร เทคโนโลยีและภูมิปัญญาท้องถิ่นในการเสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัว และชุมชน
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่
ในชุมชนจะมีการปลูกข้าวโพดอ่อน แล้วคนในชุมชนช่วยกันคิด ร่วมแสดงความคิดเห็นว่าจะนำเอาเปลือกข้าวโพดอ่อนไปใช้ประโยชน์อย่างไร
เป็นรูปแบบที่มีฐานจากการใช้ทรัพยากรในการสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
เป็นพลังที่สำคัญในการขับเคลื่อนให้ชุมชนพัฒนาไปสู่ความ เข้มแข็ง
การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการ
เสริมสร้างความเข้มแข็ง
ด้านผู้นํา
ด้านการรวมกลุ่มกิจกรรม
ด้านการบริหารจัดการ
ด้านการเรียนรู้หรือแลกเปลี่ยนความรู้
ด้านการสร้างเครือข่าย
ด้านการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ด้านการปรับตัวต่อกระแส
การเปลี่ยนแปลง
การสร้างจิตสํานึกรักถิ่นฐานของคนในชุมชน
นางสาวเกตน์นิภา เกทะโล รหัส 603901003 เลขที่ 2 นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3