Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดการดูแลบุคคลวัยผู้ใหญ่ (ปัญหาทางจริยธรรม ที่พบบ่อย…
แนวคิดการดูแลบุคคลวัยผู้ใหญ่
ความหมายของ
วัยผู้ใหญ่
คนที่มีอายุครบ 18 ปีบริบูรณ์แล้ว
ผู้ที่เติบโตเต็มที่และแข็งแรง
ความมีวุฒิภาวะสมบูรณ์
ผู้ที่เจริญเติบโตเต็มที่ มีวุฒิภาวะที่สมบูรณ์ พร้อมที่จะรับสถานภาพทางสังคมในการดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่น
แบ่งออกได้เป็น 3 ระยะ
วัยผู้ใหญ่ตอนต้นหรือวัยหนุ่มสาว
อายุ 20-40 ปี
ร่างกายพัฒนาการเต็มที่
มีบทบาทในการดำเนินชีวิต
ในเรื่องอาชีพและครอบครัว
วัยผู้ใหญ่ตอนกลางหรือวัยกลางคน
อายุ 40-65 ปี
มีความมั่นคงและสำเร็จในชีวิต
วัยผู้ใหญ่ตอนปลายหรือวัยสูงอายุ
อายุ 60-65 ปีขึ้นไป
วัยของการเสื่อมถอยของร่างกาย
สภาวะสุขภาพของผู้ใหญ่
ระบบย่อยอาหาร
การหลั่งน้ำย่อยลดลง
พลังงานในการย่อยลดลง
อาจทำให้เกิดโรคอ้วน
ระบบผิวหนัง
มีความยืดหยุ่นน้อยลง
เริ่มมีรอยย่น
ผมเริ่มร่วงและเจริญเติบโตช้า
สีผม
สารเมลานิน ที่สร้างจำนวนลดลง
ตา
ดวงตาเริ่มฝ้าฟาง
สายตาจะยาว
มองไม่ชัด
อวัยวะได้ยินและรับกลิ่น
มีการเสื่อมลง
การตอบสนองของบุคคลวัยผู้สูงอายุ
ควางต้องการ
ต้องการให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้
ต้องการความใกล้ชิด
ต้องการมีสิทธิเสรีภาพ
พฤติกรมการเจ็บป่วย
ระยะปรากฎอาการ
เริ่มเมื่อตัดสินใจว่ามีอะไร
บางอย่างผิดปกติเกิดขึ้นในร่างการ
ระยะตัดสินใจว่าป่วย
ยอมรับว่าตนป่วยและต้องการการดูแลจากผู้อื่น
เกิดความมั่นใจว่าตนป่วยจริงๆ
เพื่อขอคำเเนะนำ
ระยะเข้ารับการรับการรักษาจากแพทย์
ระยะนี้ผู้ป่วยจะถูกตรวจร่างกาย
วินิจ และให้การรักษา
ผู้ป่วยเข้ารับการวินิจฉัยโรค
ระยะรับบทบาทผู้ป่วย
การที่ผู้ป่วยตัดสินใจอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์และพยาบาล
ระยะพักฟื้นและฟื้นฟู
ระยะนี้จะกลับมาพักฟื้นที่บ้านของตนเอง
ลักษณะผู้ป่วย
มีความเชื่อ ค่านิยมต่างกัน
ผู้ป่วยเข้ามาอยู่ในโรงพยาบาล
ด้วยจุดมุ่งหมายจะหายจากโรค
มีความคลาดหวัง
เต็มไปด้วยความสงสัย
คุณค่าในตนเองลดลง
มีความกงวลเกี่ยวกับความตาย
ต้องการดูแลที่ต่างกัน
ปัจจุยที่มีผลต่อสุขภาพผู้ใหญ่
ปัจจัยด้านบุคคล
พฤติกรรม
การออกกำลังกาย
การขาดออกกำลังกายทำให้อวัยวะต่างๆเชื่องช้า
ทำให้น้ำหนักตัวเพิ่มง่าย
การบริโภคอาหาร
การปรุงอาหารที่ผิดวิธี
ทำให้อวัยวะเสื่อมถอย จนเกิดมะเร็งได้
เน้นสะดวก อาจทำให้กระทบต่อสุขภาพ
การนอนหลับไม่เพียงพอ
พฤติกรรมทางเพสไม่เหมาะสมนำไปสู่โรคทางเพศสัมพันธ์ได้
การสูบบุหรี่และแอลกอฮอล์
เป็นพฤติกรรมที่คุกคามต่อสุขภาพ
ปัจจัยทางชีวภาพ
อายุ
-มีผลต่อการเจ็บป่วยได้
เพศ
อาชีพ
สถานภาพสมรส
-อัตราการตายต่ำกว่ากลุ่มอื่นเพราะดูแลซึ่งกันและกัน
ลักษณะอุปนิสัย
-อุปนิสัยร่าเริงแนวโน้มความเป็นโรคต่ำกว่าก้าวร้าว
ด้านสิ่งแวดล้อม
สถานที่ที่อาศัยอยู่เต็มไปด้วยมลภาวะ
ปัญหาที่พบบ่อย
ด้านร่างกาย
หมดประจำเดือน
ขาดการออกกำลัง
พักผ่อนไม่เพียงพอ
ด้านจิตใจ
ปัญหาเกี่ยวกับบุตร
เครียดจากเศรษฐกิจในครอบครัว
กังวลเรื่องโรค
ด้านสังคม
ชีวิตสมรส
สัมพันธภาพกับเพื่อนใหม่
ปัญหาปรับตัวในอาชีพ
ด้านจิตวิญญาณ
มีความกดดัน
ขาดที่พึ่งทางจิตใจ
อุบัติเหตุ
ปัญหาทางจริยธรรม
ที่พบบ่อย
การบอกความจริง
การปกปิดความลับ
การยินยอมที่จะได้รับการบอกกล่าว
สัมพัธภาพ
การจัดสรรทรัพยากร
พันธะหน้าที่ที่มีต่อวิชาชีพกับหน้าที่ของตน
การยืดชีวิตผู้ป่วย
รูปแบบการตัดสินใจ
D-การชี้ให้เห็นถึงปัญหา
E- การทบทวนปัญหาจริยธรรม
C- การพิจารณา
I - การพิจารณา
D-การตัดสินเลือกปฎิบัติ
โดยเลือกข้อดีมากที่สุด
E - ประเมินผลลัพธ์
ที่บรรลุตามวุตถุประสงค์