Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (หลักการทั่วไปในการให้วัคซีน…
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
ทารกจะได้รับภูมิคุ้นกันผ่านทางรก สามารถป้องกันโรคได้บางชนิด
หลังคลอดภูมิคุ้มกันต่อแบคทีเรีย จะหมดไป 1-2 เดือน และภูมิคุ้มกันจากเชื้อไวรัสอยู่ได้นานกว่า 6 เดือนหลังคลอด
การสร้างภูมิคุ้มกันโรคในเด็ก
การสร้างภูมิคุ้มกันโรคทางตรง Actiive immunization.
แบ่งได้ 3 กลุ่ม
ท็อกซอยด์ (toxoid)
เกิดจากพิษหรือท็อกซินของแบคทีเรีย
ไม่ได้เกิดจากแบคทีเรียโดยตรง
วัคซีนชนิดเชื้อไม่มีชีวิต
ทำมาจากแบคทีเรียหรือไวรัสที่ตายแล้ว
วัคซีนชนิดเชื้อมีชีวิต
เชื้อมีชีวิตอยู่ แต่ทำให้ฤทธิ์อ่อนลง
ส่วนใหญ่เป็นวัคซีนสำหรับไวรัส
วัคซีน Rota virus จะไม่เกิดปฏิกิริยาทันที ต้องใช้เวลาหลายวันกว่าจะเกิดปฏิกิริยา
ถ้าเชื้อตายการให้วัคซีนจะไม่เกิดผล นอกจากนี้ถ้าร่างกายมีภูมิคุ้มกันอยู่ อาจขัดขางการออกฤทธิ์ของวัคซีน
ห้ามให้วัคซีนกับผู้ที่มีภูมิคุ้มกันต่ำกว่าปกติ หรือผู้ที่ได้รับยาหรือสารกดภูมิคุ้มกัน
กระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันขึ้นมาเอง โดยให้ Antigen เข้าไปในร่างกาย
สามารถป้องวกันโรคได้เป็นปีๆ หรือบางตัวสามารถอยู่ได้ตลอด
การสร้างภูมิคุ้มกันโรคทางอ้อมหรือด้วยการรับเอา Passive immunization.
ให้สารที่มีภูมิคุ้มกันโรคอยู่แล้ว (Antibody)
มีประสิทธิภาพป้องกันโรคทันที
สามารถอยู่ในร่างกายได้ประมาณ 3-4 สัปดาห์
วิธีการให้วัคซีน
มี 4 แบบ
การกิน (Oral route)
ใช้กระตุ้นภูมิคุ้มกันเฉพาะที่
การฉีดเข้าในหนัง (Intradermal หรือ Intracutaneous route)
ใช้เมื่อต้องการลดจำนวน Antigen ให้น้อยลง
การฉีดเข้าใต้หนัง (Subcutaneous route)
ใช้กับวัคซีนที่ไม่ต้องการให้ดูดซึมเร็ว เพราะกาจเกิดปฏิกิริยารุนแรง
เช่น หัด คางทูม หัดเยอรมัน
การฉีดเข้ากล้ามเนื้อ (Intramuscular route)
ใช้เมื่อต้องการให้ดูดซึมดี
นิยม ฉีดบริเวณแขน(Deltoid) ได้ผลดี เพราะดูดซึมดีที่สุด
รองลงมาฉีด บริเวณกึ่งต้นขาด้านหน้าค่อนไปด้านนอก ใช้ในเด็ก
ไม่แนะนำให้ฉีดบริเวณสะโพก เพราะอันตรายต่อเส้นประสาทไซเอติค
วัคซีนที่มี Adjuvant ควรฉีดเข้ากล้ามเนื้อ เพราะถ้าเข้าใต้ผิวหนังหรือใต้ผิวหนังจะเป็นไตแข็งเฉพาะที่
หลักการทั่วไปในการให้วัคซีน
วัคซีนหลายชนิดอาจให้พร้อมกันในวันเดียวกันได้
วัคซีนชนิดเชื้อไม่มีชีวิตสามารถให้ได้พร้อมกัน แต่ต่างตำแหน่ง
วัคซีนที่ทำปฏิกิริยาในเวลาเดียวกันไม่ควรให้พร้อมกัน เพราะจะทำให้ปฏิกิริยาเพิ่มขึ้น
วัคซีนชนิดเชื้อมีชีวิตนั้นสามารถให้พร้อมกันในวันเดียวกันได้เลย ถ้าไม่ให้พร้อมกัน ต้องเว้นห้างกันอย่างน้อย 1 เดือน
วัคซีนชนิดเชื้อตายไม่มีชีวิตสามารถให้ห่างจากวัคซีนชนิดอื่นที่มีชีวิตหรือไม่มีชีวิตกี่วันก็ได้
การให้วัคซีนห่างเกินกว่ากำหนดไม่ได้ทำให้ภูมิคุ้มกันเกิดน้อยลง
การให้วัคซีนเร็วหรือก่อนกำหนด อาจทำให้ภูมิคุ้มกันขึ้นได้น้อยลง หรืออยู่ได้ไม่นานตามกำหนด
ถ้าไม่ได้ฉีดวัคซีนตามกำหนด สามารถฉีดเข็มต่อไปได้เลย โดยไม่ต้องเริ่มใหม่
ผู้ที่เจ็บป่วยเล็กน้อย เช่น ไอ หวัด หรือไข้ต่ำๆสามารถฉีดวัคซีนได้
ถ้ามีไข้สูงควรเลื่ยนกำหนดฉีดออกไปจนกว่าจะหาย
ผู้ที่ได้รับอิมมูโนโกลบุลิน พลาสม่า หือเลือดมาไม่ถึง 3 เดือน ไม่ควรให้วัคซ่ีนไวรัสที่มีชีวิต
เพราะการได้รับเลือดและผลิตภัณฑ์ของเลือด ผู้ที่รับ Antibody เพิ่มมากขึ้น ซึ่ง Antibody ที่เพิ่มมากขึ้นจะไปทำลายวัคซีนที่มีชีวตให้ตาย
เด็กที่เคยได้รับวัคซีนดีทีพีแล้วมีไข้สูง ภายใน 48 ชม. หลังฉีด
ควรให้เฉพาะวัคซีนรวมป้องกันเฉพาะโรคคอตีบ และบาดทะยัก
เด็กที่เคยแพ้ไข่ คือมีอาการปากบวม ลมพิษขึ้น
ไม่ควรให้วัคซีน MMR ชนิดที่มาจากเซลล์เพราะเชื้อจากไข่
ทารกที่คลอดก่อนกำหนด ควรให้วัคซีนให้ครบเหมือนเด็กที่คลอดปกติ
แต่ถ้าเด็กยังอยู้ใน nursery ไม่ควรให้ OPV เพราะจะทำให้ติดเชื้อไปยังเด็กคนอื่น
เด็กที่มีภูมิคุ้มกันผิดปกติ
งดให้วัคซีนเชื้อเป็น เนื่องจากวัคซีนเข้าไปแบ่งตัวเพิ่มจำนวน ทำให้ผู้รับวัคซีนเกิดการติดเชื้อ
เด็กที่ได้ยากดภูมิคุ้มกันสามารถให้ท๊อกซอยด์ และวัคซีนชนิดเชื้อไม่มีชีวิตได้
ไม่ควรให้วัคซีนที่ทำจากไวรัสที่มีชีวิต จนกว่าได้หยุดยาที่กดภูมิคุ้มกันอย่างน้อย 3 เดือน
เด็กที่ได้วัคซีนรวมป้องกันโรคคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน แล้วเกิดอาการชักภายใน 3 วัน หรือมีอาการทางสมอง
ไม่ควรได้รับวัคซีนป้องกันโรคไอกรน ชนิดwhole cell
เด็กที่มีโรคทางระบบประสาท
ไม่ควรได้รับวัคซีนป้องกันโรคไอกรน ชนิดwhole cell แต่ถ้าเป็น โรคชักที่สามารถควบคุมได้ แล้ว
เด็กที่ครอบครัวมีประวัติเป็นโรคชัก สามารถให้วัคซีนได้
ถ้าให้วัคซีนป้องกันโรคหัดอาจต้องให้ยาลดไข้ตั้งแต่วันที่ 5 หลังฉีดยาแล้ว และให้ต่อไปประมาณ 5-7 วัน
การฉีดวัคซีนที่มี anjuvant
ควรให้เข้ากล้ามเนื้อเท่านั้น
ตำแหน่งฉีดวัคซีน ควรฉีดในตำแหน่งที่เกิดอันตรายน้อยที่สุด
นิยมฉีดบริเวณกึ่งกลางต้นขาด้านหน้าค่อนไปด้านนอก
เด็กที่ติดเชื้อ HIV หรือโรคเอดส์
ให้วัคซีนได้เหมือนเด็กปกติ ยกเว้น วัคซีน บีซีจี
เด็กที่ได้รับยากลุ่ม steroid
แต่ถ้าหยุดยาไม่เกิด 2 สัปดาห์สามารถให้วัคซีนเชื้อมีชีวิตได้เลยหลังจากหยุดยา
ผู้ป่วยที่ได้รับยาสเตอรอยด์ชนิดทาและชนิดฉีดเฉพาะที่ และผู้ป่วยที่ได้รับยาสเตอรอยด์ขนาดต่ำ
ให้วัคซีนได้ แต่ถ้าได้รับยาสเตอรอยด์ขนาดสูง ไม่ควรให้วัคซีนเชื้อเป็นจนกว่าจะหยุดยา
การให้วัคซีนเด็กปกติ
แรกเกิด
BCG HB1 ถ้ามารดา HBsAg positive ต้องเพิ่ม HBIG
1 เดือน
HB2
2 เดือน
OPV1 DTwP-HB-Hib1 Rota1
4 เดือน
IPV1 OPV2 DTwP-HB-Hib2 Rota2
6 เดือน
OPV3 DTwP-HB3-Hib3 Rota3
9-12 เดือน
MMR1 LAJE1 (เชื้อเป็น)
18 เดือน
OPV4 DTwp 4
2-2 ครึ่งปี
LAJE2 (เชื้อเป็น) MMR2
4 ปี
OPV5 DTwP5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
HPV1 HPV2 วัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูกจากเชื้อ HPV เข็ม 1 กับเข็ม 2 ห่างกันอย่างน้อย 6 เดือน
บริเวณที่ฉีด DTwP-HB2-Hib2 อาจมีอาการปวด บวมแดง
การเก็บวัคซีน
ทั่วไปเก็บที่ 2-3 องศา ยกเว้น BCG ที่ยังไม่ได้ผสมจะเก็บช่องแช่แข็ง
วัคซีนป้องกันวัณโรค BCG
เป็นวัคซีนแบคทีเรียเชื้อมีชีวิต
ฉีดเข้าในผิวหนังครั้งละ 0.1 cc.
ปฏิกิริยาหลังฉีด
หลังฉีดจะเกิดตุ่มน้ำสีขาวซีด ขนาด 7-8 มิลิเมตร เป็นรอยแดง และโตขึ้นกลายเป็นฝี
ตรงตุ่มหนองห้ามใส่ยา Antibictic ทุกชนิด
รักษาโดยใช้น้ำต้มสุกเช็ด
ข้อห้าม
ผู้ที่มีแผลไฟไหม้ น้ำร้อนลวก แผลติดเชื้อที่ผิวหนัง
ผู้ติดเชื้อ HIV ที่มีอาการ
ผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่องแต่กำเนิด หรือรับยากดภูมิคุ้มกัน
หมายเหตุ
ถ้าไม่มีแผลเป็นหรือหลักฐานการฉีด ให้ฉีดใหม่ทันที
วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ บาดทะยัก ไอกรด DTP
วัคซีนที่ให้มี 2 แบบ
DTwP
เป็นวัคซีนคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน
แบบทั้งเซล Whole cell Pertussis vaccine.
DTaP
เป็นวัคซีนคอตีบ บาดทะยัก ไอกรน
แบบไร้เซล Acellular pertussis vaccine. เป็นเฉพาะส่วนของวัคซีนไอกรน
ทั้ง 2 ชนิด เป็นวัคซีนรวม
ให้ในช่วง อายุ 2 เดือน 4 เดือน และ 6 เดือน และฉีดกระตุ้น อีก 2 เข็มคือ 1 ปีครึ่ง และ 4-6 ปีโดยเข้ากล้ามเนื้อ
ปฏิกิริยาภายหลังฉีด
ส่วนใหญ่พบมีไข้ แต่บางคนอาจไม่มี
วัคซีนไอกรน จะทำให้มีไข้ และมีอาการปวดบวม แดง ร้อน
ข้อควรระวัง
ห้ามให้ DTP ในเด็กอายุเกิน 6 ปี เพราะอาจมีอาการทางสมอง จากวัคซีนไอกรน
ห้ามฉีดในเด็กที ชัก หรือโรคระบบประสาท
ห้ามฉีดเด็กระยะที่มีโปลิโอระบาด หรือมีไข้
วัคซีนป้องกันโรคโปลิโอ
เป็นวัคซีนชนิดเชื้อมีไวรัส ที่ทำให้ฤทธิ์น้อยลง
ระวังในเด็กที่มีอาการท้องเสีย
ให้ครั้งแรก อายุ 2 4 6 เดือน ตามลำดับ กระตุ้น1 ปีครึ่ง และ 4-6 ปี
ความรู้ทั่วไป
ให้พร้อมวัคซีนอื่นได้ ยกเว้นวัคซีนเชื้อมีชีวิตด้วยกัน ถ้าให้พร้อมกันต้องห่าง1 เดือน
โปริโอชนิดกิน ต้องระวังในเด็กที่รับการรักษายา steroid หรือภูมิคุ้มกันบกพร่อง
ระหว่างรับวัคซีนไม่ต้องงดให้นม ในกรณีได้รับยาฉีดมาแล้ว
วัคซีนป้องกันโรคหัด เยอรมัน คางทูม MMR
เป็นวัคซีนเชื้อมีชีวิต
ให้ในเด็กครั้งแรกอายุ 9-12 เดือน และครั้งที่ 2 เมื่ออายุ 4-6 ปี
ถ้ามีโรคหัดระบาดควรฉีดให้เด็ก ตั้งแต่อายุ 9 เดือน แต่ถ้าไม่มีการระบาดฉีดตอนอายุ 12 เดือน
สามารถให้พร้อมกับวัคซีนอีสุกอีใส แต่ถ้าไม่ให้พร้อมกันต้องห่างกัน 1 เดือน
ปฏิกิริยาที่พบหลังฉีดยา ไข้ มีผื่น
ถ้าแพ้ไข่แบบ Anaphylaxis ต้องงดให้วัคซีน
วัคซีนป้องกันไข้สมองอักเสบ เจอี
เป็นวัคซีนเชื้อตาย
ขนาดยา
ถ้าเป็นเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี ฉีดครั้งละ 0.5 ml.
ถ้าอายุมากกว่า 3 ปี ฉีกครั้งละ 1 ml.
ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง
ระยะเวลาที่ฉีด
เข็มแรก9-18 เดือน
เข็ม 2 ห่างจากเข็ทแรก 4 สัปดาห์
เข็ม 3 ห่างจากเข็มแรก1 ปี
วัคซีนโรต้า Rota virus
เป็นวัคซีนป้องกันการติดเชื้อทางเดินอาหารที่รุนแรงในเด็ก
ปัจจุบันเป็นชนิดหยดทางปาก
สามารถให้พร้อมกับวัคซีนโปลิโอ
ห้ามให้วัคซีน Rota กับเด็กที่เป็นลำไส้กลินกัน
วัคซีน HIB Haemophilus influenza type B
เป็นเชื้อแบคทีเรียที่ติดต่อกันได้ง่าย
จะพบเชื้อที่บริเวณลำคอ
โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อ Haemophilus influenza type B มีความรุนแรงสูง
ผลข้างเคียง
ปวด บวม แดง ร้อน มีไข้สูง มีผื่น
วัคซีน HPV
เป็นวัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก
มีประสิทธิภาพดีในคนที่ไม่มีเพศสัมพันธ์มาก่อน
จะเน้นในช่วงอายุ 11-12 ปี
ป้องกันเชื้อ Human papilloma virus
ป้องกันมะเร็งช่องคลอด หูดอวัยวะเพศ
วัคซีนทางเลือก Optional vaccine
วัคซีนอีสุกอีใส varicella vaccine
เป็นวัคซีนผลิตเชื้อไวรัส varicella zoster virus: VZV
เป็นวัคซีนเชื้อเป็น ต้องระวังในผู้ป่วยที่มีภูมิต้านทานต่ำ
ฉีด 2 เข็ม ห่างกันอย่างน้อย 4-8 สัปดาห์
ผลข้างเคียง
จะมีอาการหลังจากฉีดเข็มแรกมากกว่า เข็มที่สอง
ปวด บวมแดง ร้อน มีไข้ต่ำ เกิดผื่น
การบริหารและการจัดเก็บวัคซีน
เก็บที่อุณหภูมิ 2-8 อาศา
ห้ามไว้ที่ฝาตู้เย็น
ต้องใส่กล่องพลาสติก ป้องกันการสูญเสียความเย็น
OPV เก็บในช่องแช่แข็ง
MMR/MR BCG และJE ผงแห้ง เก็บในอุณหภูมิ +2 ถึง +8 องศาเซลเซียส
ห้ามเก็บในถาดรองตู้เย็นใต้ช่องแช่แข็ง เพื่อป้องกัน กล่องวัคซีนเปียกน้ำ หรือฉลากหลุด
อ้างอิง
กัลยา ศรีมหันต์. (2563). เอกสารประกอบการสอนวิชาการพยาบาลเด็ก บทที่ 3 พัฒนาการ และภูมิคุ้มกันโรค.
กระทรวงสาธารณสุข-กรมป้องกันโรคระบาด. (2563). ข้อมูลเกี่ยวกับการฉีดวัคซีนเด็กสำหรับผู้ปกครองเเละญาติ. (พิมพ์ครั้งที่ 5 ). นนทบุรี : กระทรวงสาธารณสุข-กรมป้องกันโรคระบาด.
นางสาว อรพิมล ปิ่นปี เลขที่ 60 รหัส 612001141