Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดในการดูแลบุคคลวัยผู้ใหญ่ (ภาวะสุขภาพของผู้ใหญ่ (อวัยวะที่ทำหน้า…
แนวคิดในการดูแลบุคคลวัยผู้ใหญ่
แนวคิดเกี่ยวกับภาวะสุขภาพ
ภาวะสุขภาพของบุคคล มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาตั้งแต่เกิดจนตาย ทั้งนี้ขึ้นกับ ตัวบุคคล ความรู้ สภาพภูมิศาสตร์ หรือสภาพแวดล้อม
ความหมายวัยผู้ใหญ่
คนที่มีอายุมาก, บุคคลที่มีอายุครบ 18 ปี บริบูรณ์แล้ว
วัยผู้ใหญ่
วัยผู้ใหญ่ แบ่งออกเป็น 3 ระยะ
2.วัยผู้ใหญ่ตอนกลางหรือวัยกลางคน อายุ 40 ปีถึง 60-65 ปี
3.วัยผู้ใหญ่ตอนปลายหรือวัยสูงอายุ อายุ 60-65 ปีขึ้นไป
วัยผู้ใหญ่ตอนต้นหรือวัยหนุ่มสาว อายุ 20-25 ปีถึง 40 ปี
ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพของวัยผู้ใหญ่
1.ปัจจัยด้านบุคคล
1.1 พฤติกรรม
1.1.1 การออกกำลังกาย พบว่า การขาดการออกกำลังกาย
ทำให้การทำหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ ช้าลงและอ่อนเพลีย
1.1.3 การนอนหลับ เกิดจากนอนหลับไม่เพียงพอหรือนอนไม่หลับ
การขับถ่าย ไม่เป็นเวลาและความเครียด
1.1.5 พฤติกรรมที่คุกคามต่อสุขภาพ
การสูบบุหรี่ มีผลต่อสุขภาพโดยตรงทำให้เจ็บป่วยด้วยโรค
ถุงลมโป่งพอง หลอดเลือดหัวใจตีบ หลอดเลือด
การใช้สารเสพติด
การดื่มแอลกอฮอล์ การเจ็บป่วยด้วยโรคตับแข็ง พิษสุรา
เรื้อรัง มะเร็งตับ ระดับสังคม อาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุ
1.1.2 การบริโภคอาหาร พฤติกรรมการบริโภคเปลี่ยนไปเน้นความสะดวก
1.1.4 พฤติกรรมทางเพศ ผู้ใหญ่เป็นวัยที่มีพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสม
ตามธรรมชาต
ปัจจัยด้านชีวภาพและปัจจัยประชากร
ชีพการเกษตรที่ใช้ยาฆ่าแมลง, งานอุตสาหกรรมที่
สัมผัสสารตะกั่ว, โรงงานถ่านหิน
สถานภาพสมรส ผู้ที่สมรสมีอัตราการตายต่ ากว่ากลุ่มอื่น
เพศ ลักษณะสำคัญของแต่ละเพศมีผลต่อภาวะสุขภาพ
ความเครียด เมื่อเกิดความเครียดทำให้ร่างกายมีความต้องการ
สารอาหารเพิ่มมากขึ้น
อายุ อายุที่เพิ่มสูงขึ้นและพฤติกรรมที่เป็นปัจจัยเสี่ยงต่างๆ
ลักษณะอุปนิสัย คนที่มีอุปนิสัยร่าเริงและก้าวร้าวเป็นประจำจะ
มีแนวโน้มเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม
สภาพที่
อาศัยอยู่เต็มไปด้วยมลภาวะ
ภาวะสุขภาพของผู้ใหญ่
ฟันจะหักและร่วงหลุด
กระดูกเริ่มเปราะบางและหักง่ายเนื่องจากการสร้างกระดูกเกิดขึ้นน้อย
สีผม จะเริ่มหงอกขาวเห็นชัดเจนเมื่ออายุ 50 ปี
อวัยวะที่ทำหน้า ที่รับรู้และสัมผัส จะมีความเสื่อมเกิดขึ้น
ตา เปลือกตาจะเหี่ยวย่น ดวงตาไม่สดใสเริ่มฝ้าฟาง
ระบบผิวหนัง มีความยืดหยุ่นน้อยลง เริ่มมีรอยย่น
ระบบย่อยอาหาร ท างานลดลง การหลั่งน้ าย่อยลดลงความต้องการพลังงานลดลง
อวัยวะเกี่ยวกับการได้ยิน
หู จะมีความเสื่อมของเซลล์ทำให้การทำงานของหูผิดปกติ
การได้กลิ่นจะเสื่อมลง
การตอบสนองของบุคคลวัยผู้ใหญ่ที่มีสุขภาพเบี่ยงเบน
ทั้งในร่างกาย ด้านจิตใจ ด้านสังคม และด้านจิตวิญญาณ
บุคคลมีความต้องการและต้องการการได้รับการตอบสนองใน 3 ด้าน
ความต้องการให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ (survival needs)
ความต้องการมีสิทธิเสรีภาพ (freedom needs)
ความต้องการความใกล้ชิด (closeness needs)
การตอบสนองของบุคคลวัยผู้ใหญ่ที่มีสุขภาพเบี่ยงเบน
ระยะปรากฏอาการ (symptom experience)
2 ลักษณะทางด้านความคิด (cognitive aspects) ได้แก่ ความสำคัญ
ของอาการเหล่านั้นตามความนึกคิดของบุคคล
3 การตอบสนองทางอารมณ์ (emotional response) เป็นความรู้สึกที่
เกิดขึ้นต่ออาการที่ปรากฎ
1 ลักษณะทางด้านร่างกาย (physical aspects) ได้แก่ อาการที่เป็นการ
แสดงถึงการผิดปกติของร่างกาย
2 ระยะตัดสินใจว่าป่วย (assumption of the sick role)
เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าตนเองป่วยจริง
เพื่อขอคำแนะนำว่าควรจะทำประการใด
3 ระยะเข้ารับการรักษาจากแพทย์(medical care contact
stage)
เป็นระยะที่ผู้ป่วยเข้ารับการวินิจฉัยโรค
4 ระยะรับบทบาทผู้ป่วย (dependent patient role stage)
การที่ผู้ป่วยแต่ละคนตัดสินใจอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์และพยาบาล
5 ระยะพักฟื้นและฟื้นฟูสภาพ (recovery and rehabilitation)
เป็นระยะตัดสินใจออกจากบทบาทผู้ป่วย เป็นระยะที่คนคิดว่าตนอยู่ใน
บทบาทของคนปกติทั่วไป
ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยของ
บุคคลวัยผู้ใหญ่ที่มีภาวะสุขภาพเบี่ยงเบน
ปัญหาที่พบในวัยผู้ใหญ่
ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงต่อ
สุขภาพวัยผู้ใหญ่ด้านสังคม
ปัญหาเรื่องการเลือกคู่ครอง
ปัญหาชีวิตสมรส
ปัญหาการปรับตัวในการประกอบอาชีพ
ปัญหาการปรับตัวให้เข้ากับบทบาทใหม่
สัมพันธภาพกับเพื่อนใหม่
ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ
วัยผู้ใหญ่ด้านจิตวิญญาณ
ขาดโอกาสในสังคมและที่ทำงานขาดการยอมรับ
ขาดที่พึ่งทางจิตวิญญาณเนื่องจากไม่สามารถจัดสรรเวลาไปปฏิบัติศาสนกิจได
ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพวัย
ผู้ใหญ่ด้านจิตใจ
วิตกกังวลเกี่ยวกับโรคภัยไข้เจ็บ
ปัญหาเกี่ยวกับปัญหาของบุตร
วิตกกังวลเกี่ยวกับชีวิตสมรส
มีภาวะเครียดจากปัญหาเศรษฐกิจในครอบครัว
วิตกกังวลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของร่างกายที่เสื่อมลง
5.อุบัติเหตุ
ปัญหาสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงต่อ
สุขภาพวัยผู้ใหญ่ด้านร่างกาย
วัยหมดประจำเดือนหรือสตรีวัยทอง ( Menopause )
ปัญหาการมีพฤติกรรมไม่เหมาะสม
การขาดการออกก
การพักผ่อนไม่เพียงพอ
การรับประทานอาหารไม่เหมาะสม
ปัญหาทางด้านจริยธรรมทางการพยาบาล
ปัญหาทางด้านจริยธรรมทางการพยาบาล
ผู้รับบริการบางคนอาจมีอคติต่อวิชาชีพการพยาบาล
พยาบาลบางคนขาดความรับผิดชอบต่อหน้าที่
ละเลยต่อหลักการและจรรยาบรรณวิชาชีพ
ทัศนคติและความคาดหวังของประชาชนที่มีต่อบริการทาง
การแพทย์และพยาบาล
ระบบการบริหารงานของหน่วยงานหรือองค์กร
ทัศนคติของผู้ร่วมงานในทีมสุขภาพ
ประเด็นขัดแย้งทางจริยธรรม
ปัญหาที่ก่อให้เกิดความพิศวงหรือสับสน ยากที่จะตัดสินใจ
โดยใช้ความจริงหรือข้อมูลมาช่วยได้
ผลของปัญหาจริยธรรมนั้นจะต้องกระทบมากกว่า
เหตุการณ์ในขณะนั้น คือจะต้องมีผลต่อเนื่องเกิดขึ้น
ปัญหานั้นไม่สามารถแก้ได้โดยใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์
ปัญหาทางด้านจริยธรรมทางการพยาบาลที่พบบ่อยในหอผู้ป่วย
การยินยอมที่ได้รับการบอกกล่าว (informed consent)
สัมพันธภาพ/ความร่วมมือกับผู้ร่วมงาน
(relationship/ cooperation)
การปกปิดความลับ (confidentiality)
การจัดสรรทรัพยากร (allocation of resources)
การบอกความจริง (veracity/ truth telling)
พันธะหน้าที่ต่อวิชาชีพกับหน้าที่ต่อตนเอง ( professional obligation
an duty to self)
7.การยืดชีวิตผู้ป่วย (prolong life)
รูปแบบการตัดสินใจเชิงจริยธรรม
การวิเคราะห์ ถึงคุณค่า และความเชื่อที่สำคัญที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์
การวิเคราะห์เรื่องราวที่อยู่เบื้องหลังสถานการณ์ที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งในคุณค่าและความเชื่อ
การวิเคราะห์ถึงความขัดแย้งที่เกิดขึ้นและมีใครบ้างที่ได้รับผล
กระทบจากสถานการณ์ของความขัดแย้งทางจริยธรรม
ตัดสินว่าควรจะทำอย่างไร