Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นางสาวณิชา ถาวรวงษ์ ปี2 รุ่น36/1 เลขที่41 (612001042), อ้างอิง (ธนัชพร…
นางสาวณิชา ถาวรวงษ์ ปี2 รุ่น36/1 เลขที่41 (612001042)
อ้างอิง
ธนัชพร มุลิกะบุตร. (2560). การประเมินภาวะโภชนการ. เข้าถึงได้จาก
http://courseware.npru.ac.th/admin/files/20190108150056_1e3e543a972e12a6a796286cf6458554
.pdf
สุภาพรรณ ตันตราชีวธร .(2558). Nutrition. เข้าถึงได้จาก
http://www.thaipediatrics.org/Media/media-
20180403145645.pdf
จุฬาลักษณ์ วัชชาราช. (2559). โภชนาการสำหรับวัยทารก. เข้าถึงได้จาก
http://164.115.41.60/excellencecenter/?p=207
สำนักโภชนาการ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2558). การดำเนินงานส่งเสริมโภชนาการ ในคลินิก สุขภาพเด็กดี. เข้าถึงได้จาก
http://nutrition.anamai.moph.go.th/images/file/.pdf
ณัฐพร ทัศนกิจพาณิชย์. (2559). การเจริญเติบโตปกติในเด็กและการประเมิน. เข้าถึงได้จาก
https://meded.psu.ac.th/binla/class05/388_551/Normalgrowthinchildren/index.html
การส่งเสริมการเจริญเติบโตและภาวะโภชนาการในเด็ก
การประเมินการเจริญเติบโตและ
ภาวะโภชนาการในเด็ก
การชั่งนน.
บอกความรุนแรงของโรคขาดสารอาหาร
สูตรคำนวณนน.ตามเกณฑ์มาตรฐาน
3-12เดือน = อายุ(เดือน)+9/2
1-6ปี = (อายุ(ปี)*2)+8
7-12ปี = (อายุ(ปี)*7)-5/2
คำนวณเปอร์เซ็นต์ไทส์นน.
100*นน.ที่ชั่งได้/นน.ตามเกณฑ์ที่คำนวณได้
แปลผล
120% เด็กอ้วน
90-110% เด็กนน.ปกติ
75-90% ขาดสารอาหารระดับ1
60-74% ขาดสารอาหารระดับ2
ต่ำกว่า 60% ขาดสารอาหารระดับ3
การเปลี่ยนแปลงของน้ำหนักทารกแรกเกิด
แรกเกิด 3kg
5-6เดือน 2เท่าของแรกเกิด
1ปี 3เท่าของแรกเกิด
2ปี 4เท่าของแรกเกิด
7ปี 7เท่าของแรกเกิด
รอบศีรษะ (HC)
แรกเกิด 35cm.
6เดือนแรก +1.5cm./เดือน
6เดือนหลัง +0.5cm./เดือน
2ปี 2-3cm./ปี
3ปี 0.5-2cm./ปี
3-10ปี 1cm./3ปี
ส่วนสูง
บ่งบอกการขาดสารอาหารแบบเรื้อรัง
2-12ปี = [อายุ(ปี)*6]+77
6เดือนแรก +2.5cm./เดือน
6เดือนหลัง +1.5cm./เดือน
เกณฑ์มาตรฐาน
แรกเกิด 50cm.
6เดือน 65cm.
1ปี 75cm. (1.5เท่าของแรกเกิด)
2ปี 87cm.(1.75เท่าของแรกเกิด)
4ปี 100cm.(2เท่าของแรกเกิด)
คำนวณเปอร์เซ็นต์ไทส์ส่วนสูง
100*ส่วนสูงที่วัดได้/ส่วนสูงที่คำนวณได้
ต้องอยู่ที่เปอร์เซ็นต์ไทส์95
ต่ำกว่า=เตี้ย ให้คำแนะนำทานอาหารมีแคลเซียมและโปรตีนสูง
ความต้องการในสารอาหารแต่ละวัย
ทารก
ต้องการ 100Kcal/kg/day
แหล่งพลังงานสำคัญคือนมแม่ เพียงพอใน6เดือนแรก
นมปกติ 1ออนซ์ มี 20 cal
นมเด็กคลอดก่อนกำหนด 1ออนซ์ มี 24 cal
พลังงานที่ควรจะได้รับตามนน.
0-10kgแรก 100Kcal/kg/day
11-20kg 50Kcal/kg/day
นน.ที่เหลือ 20Kcal/kg/day
วัยรุ่น
1600-2300Kcal/kg/day
ต้องการแคลเซียม เหล็ก วิตามินเค
แคลเซียมไม่พอเสี่ยงกระดูกพรุน
การส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็ก
หลักการให้นม
ให้ทารกดูดให้เกลี้ยงเต้า ดูดทีละข้าง เพื่อได้ทั้งนมส่วนหน้าและนมส่วนหลัง
บีบทิ้งได้เมื่อคัดตึงมาก/ทารกดูดไม่ทัน
สลับข้างดูดในมื้อต่อไปทุกครั้ง
นม
นมดัดแปลงสำหรับทารก
นมเปรี้ยว
เด็กติดหวาน ฟันผุ ภาวะโภชนาการเกิน
นมวัว
ไม่เหมาะกับทารกต่ำกว่า 1ปี
เกิดท้องอืด ท้องเฟ้อ ไตทำงานหนัก
มีสารอาหารไม่ครบ
อาหารเสริม
6เดือนแรก นมแม่อย่างเดียว*
6เดือน 1มื้อ ข้าวบดละเอียด ไข่แดง ปลา/ตับบด ผักสุก/ฟักทอง มะละกอ/มะม่วง
7เดือน 1มื้อ ข้าวบดละเอียด ปลา/หมู ผักสุก/ฟักทอง มะละกอ/มะม่วง
8-9เดือน ข้าวบดหยาบ ไข่ ปลา/หมู ผักสุก/ฟักทอง มะละกอ/กล้วย
10-12เดือน ข้าวต้ม/สวย ไข่ ปลา/หมู/ตับบด ผักสุก/ฟักทอง มะม่วง/ส้ม
ให้มื้อเย็น เด็กจะอิ่ม ลดการดูดนมกลางคืน
คำแนะนำ
ครั้งแรกบดละเอียด บดหยาบเมื่อฟันขึ้น
ให้ครั้งละน้อยๆ แต่ละชนิดห่างกัน4-7วัน แพ้ให้งดทันที
ให้ทานจากช้อน
ให้ก่อนให้นม/ตอนหิว
ไม่บังคับให้กิน
ขณะป้อนทารกจะห่อปากเอาลิ้นดุน(Extrusion reflex) หายเมื่อ 4-6เดือนขึ้นไป
เมื่อทานอาหารเสริมได้ดีให้ลดปริมาณนมลง
ปัญหาโภชนาการในเด็กและการดูแล
โรคโลหิตจางจากการขาดเหล็ก
อาการ: อาการ: ซีด ขาดออกซิเจน
อาหาร: อาหาร: ไข่แดง เครื่องในสัตว์ ผักใบเขียว Vit.C
โรคเหน็บชาจากการขาดVit.B1
อาการ: บวม ร้องกวน หอบเหนื่อย :<3:เต้นเร็ว ตัวเขียว หนังตาตก ชัก
อาหาร: ข้าวซ้อมมือ ตับ เนื้อหมู ถั่วเหลือง
โรคปากนกกระจอกจากการขาดVit.B2
อาการ: มีรอยแผลแตกมุมปาก ผิว-ลิ้นอักเสบ ตาไม่สู้แสง
อาหาร: ตับ หัวใจ ยอดผัก
ป้องกัน: ไม่เลียปาก ดื่มน้ำเปล่ามากๆ รักษาความสะอาด
โรคตาบอดแสงจากการขาดVit.A
อาการ: ตาไม่สู้แสง ตาแห้ง ตาบอดกลางคืน เกล็ดกระดี่
อาหาร: ผักสีเหลือง แดง เขียว
ตาบอดตอนกลางคืน night blindess
เยื่อกระจกตาผิดปกติ Xerothalmia
กระจกตาทะลุ Keratomalacia
Marasmus
อาการ: ไม่มีแรง ผอม ซึม
อาหาร: ให้พลังงาน120-150 cal/kg/day
ขาดพลังงาน
Kwashiorkor
อาการ: บวม ผอม กล้ามเนื้อลีบ แก้มตอบ ผมสีแดงซีด
อาหาร: ให้โปรตีนคุณภาพ เนื้อ นม ไข่
ขาดโปรตีน