Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 โรคที่เกิดจากการปฎิบัติทางการแพทย์ในผู้สูงอายุ Iatrogenesis in…
บทที่ 6 โรคที่เกิดจากการปฎิบัติทางการแพทย์ในผู้สูงอายุ Iatrogenesis in older persons
ผลการเสียของการต้องรับการรักษาในโรงพยาบาลจําแนกตามเหตุการทีเกิดขึ้นในผู้ป่วย
การรักษา
intravenoustherapy
urinarycatheterjzatjon
nasogastrjctube
diaiysis
transfuion
ยา
ปฏิกิริยาระหว่างยา
การแพ้ย่า
ความผิดพลาดจากการสั่งจ่ายยา
ผลข้างเคียงจากยา
ผ่าตัด
ผลเสียจากการดมยา
โรคติดเชื่อ
ภาวะขาดสารนํ้า
ความผิดปกติทางเมตาบอลิก
การนอนอยู่บนเตียงนานๆ
ความผิดปกติของแคลเฃียม
fecajimpaction
hypovojemiaและhypotension
urinaryinccontinence
thromboembojism
การเปลี่ยนแปลงทางเภสัชจลน์ศาสตร์ในผู้สูงอายุ
เภสัชจลนศาสตร์
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาเนื่องจากความชรา
1.การดูดซึมยา
1.ความเป็นกรดในกระเพาะอาหารลดลง
2.พื้นทีในการดูดฃึมยาลดลง
3.การไหลเวียนเลือดทีลําไส้ลดลง
2.การกระจายยา
1.เนื้อเยื่อในไขมัน
2.ปริมาตรนํ้าในร่างกาย
3.lean body mass
4ระดับอัลบูมินในเลือดลดลง
3.metabolism
2.oxidative metabolism
3.conjugative metabolism
1.first pass metabolism
4.การกำจัดยา
เลือดที่ไปเลี้ยงไตและอัตราการกรองที่ไต glomerular filtration rate ลดลง
ผลทางคลินิก
1.การดูดซึมยา
การดูดฃึมย่าต่างๆลดลง
ยังใม่ทราบความสําคัญทางคลินิก
ยังใม่ทราบความสําคัญทางคลีนิค
2.การกระจายยา
ความเข้มข้นจองระดับยาที่ละลายในน้ำเพิ่มขึ้น
ปริมาณยาที่ครั้งแรกควรลดลง
ประมาณนาชนิด acidic drugจัชกับโปรตีนเพิ่มขึ้น
ระยะครึ่งของชีวิตของยาที่ละลายในไขมันเพิ่มขึ้น
ตัวอย่างยา
1.การดูดซึมยา
itraconazole
ferrous
Ketoconazole
sulphate
2.การกระจายยา
ethanol
digoxin
diazepam flurazepam
phenytion warfarin
3.metabolism
propanolol
diazepam
labetalol
lurazepam
Oxazepam
trizolam
4.การจัดยา
digoxin gentamicin ACE inhibitor
3.metabolism
ระยะครึ่งชีวิตของยาที่ผ่านกระบวนการนี้เพิ่มขึ้น
ระยะครึ่งชีวิตของยาที่ผ่านกระบวนการนี้ไม่เปลี่ยนแปลง
bioavailabiliy ของยาบางตัวเพิ่มขึ้น
4.การกำจัดยา
ระยะครึ่งชีวิตของยาที่ขับไต ยาวขึ้น
อาการที่ไม่จำเพราะของโรคต่างๆในผู้สุงอายุ
โรค
โรคพาร์กินสัน
เคลื่อนไหวช้า อ่อนเพลีย
polymyalgia rheumatica
ปวดเมื่อยเบื่อ อาหาร
โรคตืดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
ไม่มี guarding หรือ rigidity
โรคต่อมไทรอยด์ทำงานมากเกินไป
เบื่ออาหาร เจ็บหน้าอก
ภาวะหัวใจวาย
ไม่มีอาหารแสดง เบื่ออาหาาร อ่อนเพลีย
โรคต่่อมไทรอยด์ทำงานน้อยเกินไป
สับสน ซึมเศร้า เลือดออกทางช่องคลอด
ภาวะซึมเศร้า
ความจำไม่ดี น้ำหนักลด
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย
เหนื่อยง่าย เบื่ออาหาร
มะเร็ง
เบื่อ อาการ ท้องผูก
ปอดอักเสบ
เบื่ออาหาร สัยสนเฉียบพลัน
ปฎิกิริยาระหว่างยาสมุนไพรและยาแผนปัจจุบัน
ยาแผนปัจจุบัน
3.NsAiDs
Warfarin
4.
ยาที่ดูดซึมทางลำไส้
Thiazides
Digitalis
Corticosteroids
2.
Warfarin
Alcohol
Phenelzine(Nadil)
monoamin oxidase
Inhibitor
1.
Aspirin
Warfarin
Thiade diuretic
Acetamainophและergotamine/caffeine
ผลไม่พึงประสงค์จากยา
ลด INR (International Normalized Ratio) เพิ่มการขับแอลกฮอล์ออกจากร่างกาย
โรคหลอดเลือดสมองแตก
โรคความดันเลือดสูง
เพิ่ม anticogulation effect
ลด drug availability การใช้ติดต่อกันนานๆ
อาจทําไห้เวียโพแทสเซียม
ยาสมุนไพร
2.โสม
3.กระเทียม
1.ใยแปะก๊วย
43มะขามแขก
อาการในผู้สูงอายุที่เกิดจากยาและตัวอย่างที่อาจเป็นสาเหตุ
โรค
4.อาการกลัน้ปัสวะใม่ได้
5.ภาวะปัสสาวะคั่ง
3.ภาวะความดันเลือดตํ่าจากการเปลียนท่าทาง
6.อาการท้องผูก
2.อาการพาร์กินสัน
7.กามตายด้าน
9.อาการเบื่ออาหารนําหนักลดลง
1.ภาวะหกล้ม
10.ภาวะชึมเศร้าภาวะชึมเศร้าเฉียบพลัน
11.ภาวะไตวาย
12.กลุ่มอาการโรคข้อ
8.อาการปากคอแห้ง
แนวทางการจัดการโรคที่เกิดจากการปฏิบัติทางการแพทย์ (latrogenic disease)
อาการหรือผลการตรวจผิดปกติที่เกิดขึ้นใหม่
มี
มียาที่อาจเป็นสาเหตุ
ผิดปกติรุนแรง
หยุดยาหรือเปลี่ยนยาที่อาจเป็นสาเหตุนั้นเป็นการรักษาอื่น
ผิดปกติไม่รุนแรง
มีการรักษาอื่นทดแทนหรือสามารถหยุดยาที่เป็นสาเหตุได้
ไม่มีการรักษาอื่นทดแทนหรือไม่สามารถหยุดยาที่เป็นสาเหตุได้
ติดตามความผิดปกติว่าเป็นมากขึ้นหรือไม่
ไม่เป็นมากขึ้นหรืออาการดีขึ้น
ตรวจสอบการใช้ยาถูกต้องหรือไม่
2 more items...
เป็นมากขึ้นกรือไม่หาย
หยุดยาหรือเปลี่ยนยาที่อาจเป็นสาเหตุนั้นเป็นการรักษาอื่น
ไม่มี
เกิดจากสาเหตุอื่นๆและไม่มียาที่อาจเป็นสาเหตุ
ผิดปกติไม่รุนแรง