Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่15การจัดการเกี่ยวกับพฤติกรรมที่เป็นปัญหา (ปัญหาพิเศษ…
บทที่15
การจัดการเกี่ยวกับพฤติกรรมที่เป็นปัญหา
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาคืออะไร
สิ่งที่ไม่เป็นปัญหา
พฤติกรรมที่แสดงความไม่สนใจระยะสั้นๆ
การคุยกันในระหว่างการเปลี่ยนกิจกรรม
การคุยกันในระหว่างทำความสะอาด
การหยุดระยะสั้นๆในขณะทำแบบฝึกหัด
ปัญหาที่ไม่รุนแรง
เป็นพฤติกรรมที่ขัดต่อกระบวนการและกฎ
แต่ไม่รบกวนกิจกรรมการเรียนการสอน
ผู้เรียนพูดโดยไม่ยกมือขออนุญาต
ลุกจากที่นั่งโดยไม่ขออนุญาต
ทำกิจกรรมที่ไม่เกี่ยวข้องกับวิชาที่กำลังสอน
การกินขนม
การปากระดาษลงพื้น
นั่งคุยกันในขณะทำแบบฝึกหัด
ปัญหาที่รุนแรง แต่มีข้อจำกัดเรื่องขอบเขตและผลกระทบ
พฤติกรรมที่มีผลกระทบต่อการเรียนการสอน
ไม่ทำงานเป็นประจำ
การทำงานไม่สำเร็จ
ไม่ปฏิบัติตามกฎบ่อยๆ
ทำร้ายคนอื่น
แสดงอาการป่าเถื่อน
เป้าหมายในการจัดการพฤติกรรมที่เป็นปัญหา
เป้าหมายของผลระยะสั้น
ต้องหยุดพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมนั้น
ต้องปรับพฤติกรรมให้ถูกต้องเหมาะสม
เป้าหมายของผลระยะยาว
ป้องกันพฤติกรรมไม่ให้เกิดขึ้นอีก
ครูต้องระัดระวังไม่ให้เกิดพฤติกรรมข้างเคียง
พยายามลดพฤติกรรมข้างเคียง
ครูต้องพิจารณาพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม
ว่ามีผลกระทบต่อผู้เรียนคนอื่นอย่างไร
ผู้เรียนคุย โอ้อวดเพื่อน ขณะทำแบบฝึกหัด
ได้ผลในระยะสั้น
กลยุทธ์ในการจัดการ
มาตรการแก้ปัญหา 3 มาตรการ
มาตรการสำหรับปัญหาไม่ร้ายแรง
ใช้วิธีการที่ไม่ต้องพูดใช้สายตาพร้อมให้สัญญาณ
ให้กิจกรรมเลื่อนไหลต่อเนื่อง
มีการเปลี่ยนกิจกรรมอย่างรวดเร็ว
กระชับอย่าปล่อยเวลาให้ผ่านไปเฉยๆ
ครูต้องเตรียมการสอนเป็นอย่างดี
เตรียมการสอน สื่อให้กระชับ
การเข้าไปใกล้
ครูเดินเข้าไปใกล้ผู้เรียนใช้วิธีการไม่ต้องใช้คำพูด
การใช้กระบวนการกลุ่ม
เตือนหรือแจ้งให้ผู้เรียนปฏิบัติให้ถูกต้องเหมือนเดิม
ดำเนินการสอนใหม่
บอกให้ผู้เรียนหยุดพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม
ให้ทางเลือกแก่ผู้เรียน
การใช้การสื่อสาร ครู-รู้สึก
มาตรการแก้ปัญหาที่มีความรุนแรงปานกลาง
งดสิทธิพิเศษหรือกิจกรรมพิเศษ
การแยก
การทำโทษ
การกักตัวผู้เรียน
การใช้อำนาจของโรงเรียน
3.มาตรการในการแก้ปัญหาที่รุนแรงขึ้น
ทำข้อผูกพันสัญญา
พบผู้ปกครอง
ใช้ระบบเพิ่มโทษ
ใช้วิธีการแก้ปัญหา
การใช้รูปแบบการบำบัดเสมือนจริง
ปัญหาพิเศษ
การพูดมาก
เรียกร้องความสนใจจากครู
ครูจะตั้งกฎเกณฑ์เพื่อปฏิบัติ
ครูเตือนให้ผู้เรียนทราบว่าจะต้องทำอะไร
การแสดงอาการหยาบคายต่อผู้สอน
ทะลึ่ง
อวดดี
โต้เถียง
พูดหยาบ
แสดงกริยาท่าทางไม่สุภาพ
ผู้สอนต้องไม่แสดงอาการตอบโต้มากจนเกินไป
การหลีกเลี่ยงงานเป็นประจำ
บางคนที่ไม่ทำงานที่ได้รับมอบหมายบ่อย
การวางแผนให้เกิดความรับผิดชอบ
ครูต้องตรวจงานผู้เรียนบ่อยๆ
การทะเลาะวิวาท
การทะเลาะในห้องเรียนมีน้อยกว่าในสนาม ในโรงอาหาร
ในระดับมัธยม
ครูสามารถห้ามปรามได้ทันก่อนที่จะบาดเจ็บ
ครูต้องตะโกนให้หยุดทะเลาะหรือต่อสู้
ครูแยกคู่ต่อสู้ให้อยู่ห่างกัน
ให้ผู้เรียนเขียนสาเหตุของการทะเลาะ
พฤติกรรมก้าวร้าวอื่นๆ
การด่า
การพูดและแสดงอาการขมขู่
อาการหยาบคายต่อผู้เรียนคนอื่นๆ
การผลักดันคนอื่นในลักษณะทีเล่นทีจริง
การท้าทายหรือแสดงพฤติกรรมก้าวร้าวต่อครู
ครูพูดกับผู้เรียนเป็นการส่วนตัว
ครูต้องแสดงอาการหนักแน่น
จริงจัง
ไม่ต่อล้อต่อเถียงกับผุ้เรียน
บอกโทษที่เข้าจะได้รับ