Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ออทิสติก Autism Spectrum Disorder (แนวทางการช่วยเหลือ…
ออทิสติก Autism Spectrum Disorder
ความหมายออทิสติก
ออทิสติก เป็นความผิดปกติของพัฒนาการเด็กรูปแบบหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตัว โดยเด็กไม่สามารถพัฒนาทักษะทางสังคมและการสื่อความหมายได้เหมาะสมตามวัย มีลักษณะพฤติกรรม กิจกรรม และความสนใจ เป็นแบบแผนซ้ำๆ จำกัดเฉพาะบางเรื่อง และไม่ยืดหยุ่น ปัญหาดังกล่าวเป็นตั้งแต่เล็ก ส่งผลให้เกิดข้อจำกัดในการดำรงชีวิต
สาเหตุ
สาเหตุด้านร่างกาย
1.1 เค็กออติสติกประมาณ 13 มีความผิดปกติที่สมองส่วนกลาง และระบบประสาทซึ่งเเสดง
ออกถึงความผิดปกติของการรับรู้ความจำและสติปัญญา
12 เด็กออติสติกมีประวัติมารคมีกาวะแทรกซ้อนของการตั้งครรภ์และการคลอด
1.3 มีการถ่าขทอดทางพันรุกรรม ถือ พบอัตราการเป็นโรคจิตในพี่น้องเคียวกันในอัตรา
1:50 ซึ่งพบในคนปกติทั่วไป 1:2,500
สาเหตุด้านสิ่งแวดล้อม
มีนักทฤษฎีหลายท่านเชื่อว่า พ่อแม่ของเด็กออติสติกมีบุคลิกภาพผิดปกติ คือ มักเป็นดนอารมณ์เฉยเมย เข็นชา เจ้าระเบีขบ มีฐานะและการศึกษาดี เอาใจใส่งานมากกว่าลูกของตนทำให้เด็กขาดสัมพันธภาพที่ดีต่อบุคคล ส่วนศาสตราจรย์คนเนร์ และคณะ กล่าวว่า พ่อแม่ของเด็กมักเป็นคนฉลาดหลักแหลมเข้มงวดไม่มีอารมณ์ขัน และไม่มีเวลาให้กับลูก แต่เรื่องเหล่านี้ก็ยังไม่การยืนยันที่แน่นอน
แนวทางการช่วยเหลือ
การสร้างสัมพันธภาพระหว่างบุคคลให้เกิดความไว้วางใจ ให้ความรักความอบอุ่น ตอบสนองความ
ต้องการการดูแลของเด็กทุกด้าน
จัดสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัย ป้องกันอันตรายที่อาจเกิดจาการมีพฤติกรรมไม่เหมาะสมกับตนเองและ
ผู้อื่น
ส่งเสริมพัฒนาการทางสังคม ให้เด็กมีความมั่นใจในการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นจัดให้อยู่ใน
สิ่งแวดล้อมที่คุ้นเคย มีการชมเชย ให้รางวัลเมื่อมีพฤติกรรมที่เหมาะสม
ส่งเสริมพัฒนาการการเข้าใจตนเอง
ดูแลด้านครอบครัวให้ความรู้แก่มารดาในการดูแลเด็ก ความคาดหวังในพฤติกรรมของเด็ก การ
เผชิญความเครียดของครอบครัวกระตุ้นให้มีการระบายความรู้สึก สนับสนุนให้ผ่านพ้นภาวะวิกฤตเศร้าโศก ให้
ยอมรับสภาพความเป็นจริงมีก่าลังใจที่เข้มแข็งในการดูแลเด็ก ร่วมก่าหนดเป้าหมายในการดูแลเด็ก สิทธิของ
เด็ก การสร้างเครือข่ายในชุมชน
ดูแลการได้รับยากระตุ้นการท่างานระบบประสาท Methyphenidate HCl,
Dextroamphetamineยากันชัก Sodium Volprote ยาต้านโรคจิต Haloperidal Thioridazine ยาต้าน
อาการซึมเศร้า Imipramine Fluoxetineยาลดความวิตกกังวล Lorazepam กรณีที่เด็กมีความวิตกกังวล
ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต้อระวังอาการข้างเคียงของยา
จุดมุ่งหมายการรักษาที่สำคัญมี 4 ประการ
การช่วยเหลือเด็กด้วยการลดพฤติกรรมซ้ำๆและใช้หลักพฤติกรรมบำบัด โดยใช้วิธีลดการกระทำของเด็กทีละน้อย โดยค่อยๆ เบี่ยงเบนออกไป (Graed change) และนำเอาการกระทำคุ้นอย่างอื่นที่จะให้เด็กเรียนรู้เข้ามาแทน
การช่วยหลือโดยการจัดปัญหาด้านพฤติกรรมที่ผิดปกติต่างๆ เช่นอาการหวาดกลัวการก้าวร้าวอย่างไม่มีเหตุผล และการทำร้ายตนเอง โดยใช้หลักพฤติกรรมบำบัด
การช่วยเหลือด้วยการบรรเทาความครียดในครอบครัว โดยใช้วิธีการใช้คำปรึกษา (Counscling methods) และการทำจิตบำบัดแบบประคับประคอง (Supportive Psychotherapy
การส่งเสริมโดขการกระตุ้นให้เด็กมีพัฒนาการเป็นปกติ โคยการ ฝึกให้เด็กได้ทำซ้ำ ๆในกิจกรรมเช่นนี้ทุกวัน เช่น ให้เล่นเป็นอิสระสัก 10 นาที ต่อมาก็สอนให้เด็กทักทายกันเองหรือทักทายผู้ปกครองใช้เวลา 10นาที จึงให้ร่วมกับกิจกรรมเข้าจังหวะ
ลักษณะอาการทางคลินิก
ด้านสังคม การมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคม ไม่สามารถเชื่อมโยงตนเองกับผู้อื่นและเหตุการณ์ได้ ไม่มี
ปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น เช่นการสบตา การแสดงสีหน้าท่าทาง
ด้านการสื่อสาร มีความผิดปกติทางการสื่อสาร การพูด ท่าทางไม่สามารถสื่อความหมายด้วย
ท่าทางได้ พูดช้า
ด้านพฤติกรรม มีการกระท่าและความสนใจในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ท่ากิริยาซ้ำๆการเคลื่อนไหวร่างกายซ้ำๆ หมุนมือ บิดมือ โยกตัว หมุนตัว เล่นของเล่นอย่างเดียว ไม่มีการเล่นสมมุติในบทบาทต่างๆหรือการเล่น
เลียนแบบ ชอบสนใจสิ่งที่เคลื่อนไหวตลอดเวลาเช่น พัดลม
แบบประเมินที่ใช้
KUSSI Rating Scales ส่วนของ Autism(PDDs)
ใช้คัดกรองนักเรียนชั้น ป.1-6
อายุระหว่าง 6-13 ปี 11 เดือน
ใช้สำหรับคัดกรองนักเรียนที่มีภาวะออทิสติก
แบ่งออกเป็น 3 องค์ประกอบ ได้แก่ ด้านการสื่อสาร
ด้านพฤติกรรม และด้านสังคม
มีข้อค าถาม 40 ข้อ
แบบสำรวจพัฒนาการเด็ก (PDDSQ) ช่วงอายุ 4-18 ปี
ผู้ทำการคัดกรองเบื้องต้นคือผู้ที่อยู่ใกล้ชิดเด็กมากที่สุด
ประเมินลักษณะหรือพฤติกรรมที่เด็กแสดงออกบ่อยๆ
หากได้คะแนนรวมตั้งแต่ 13 คะแนนขึ้นไป ถือว่าเสี่ยงที่จะเป็น PDDs. (โรคออทิสติก โรคเร็ทท์ ความผิดปกติในพัฒนาการในวัยเด็ก โรคเอสเปอรเกอร และความผิดปกติในพัฒนาการที่ไม่ทราบสาเหตุ )
มีทั้งหมด 25 ข้อ
แบบคัดกรองบุคคลออทิสติก (ของ สพฐ.)
เป็นแบบจำแนกทางการศึกษา
เป็นลักษณะหรือพฤติกรรมที่เด็กแสดงออกบ่อยๆ
ผู้ทำการคัดกรองเบื้องต้นคือผู้ที่อยู่ใกล้ชิดเด็กมากที่สุด
ีทั้งหมด 16 ข้อ
แบ่งเป็นพัฒนาการ 3 ด้าน ต้องตอบว่าใช่ในทุกด้านของพัฒนาการ อย่างน้อยด้านละ 2 ข้อ ขึ้นไป ได้แก่ ด้านพฤติกรรม / อารมณ์ ด้านการสื่อความหมาย ด้านสังคม
นางสาวผาณิตา ตาสาย เลขที่ 38 ปี3 ห้อง 1