Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีอาการชัก :red_flag: (โรคลมชัก(Epilepsy) :explode:…
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีอาการชัก :red_flag:
โรคลมชัก(Epilepsy) :explode:
อาการและอาการแสดง :black_flag:
อาการชักเฉพาะส่วน (Partial หรือ Focal Seizures)
1.อาการชักแบบรู้ตัว (Simple Focal Seizures) สำหรับอาการชักประเภทนี้ ขณะที่เกิดอาการ ผู้ป่วยจะยังคงมีสติครบถ้วน โดยผู้ป่วยอาจมีความรู้สึกแปลก ๆ หรือมีความรู้สึกวูบ ๆ
2.อาการชักแบบไม่รู้ตัว (Complex Partial Seizures) สามารถเกิดขึ้นโดยที่ผู้ป่วยอาจไม่รู้ตัวและไม่สามารถจดจำได้ว่าเกิดอาการขึ้นเมื่อใด
อาการชักที่มีผลต่อทุกส่วนของสมอง (Generalized Seizures)
3.อาการชักแบบกล้ามเนื้ออ่อนแรง (Atonic Seizures) อาการชักที่ส่งผลให้กล้ามเนื้ออ่อนแรงลง
4.อาการชักแบบชักกระตุก (Clonic Seizures) เป็นอาการชักที่ก่อให้เกิดการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อที่ผิดปกติ
2.อาการชักแบบชักเกร็ง (Tonic Seizures) เป็นอาการชักที่ทำให้เกิดอาการเกร็งของกล้ามเนื้อ
5.อาการชักแบบชักกระตุกและเกร็ง (Tonic-clonic Seizures) เป็นอาการชักที่ส่งผลต่อกล้ามเนื้อในร่างกายทุกส่วน
1.อาการชักแบบเหม่อลอย (Absence Seizures) เป็นอาการชักที่มักเกิดขึ้นในเด็ก อาการที่โดดเด่นคือการเหม่อลอย
6.อาการชักแบบชักสะดุ้ง (Myoclonic Seizures) อาการชักชนิดนี้มักเกิดขึ้นแบบเฉียบพลัน
สาเหตุ :red_flag:
2.การเสียสมดุลของสารน้ำและอิเล็กโทรไลต์ โดยเฉพาะแคลเซียม ทำให้การทำงานของเซลล์ประสาทมากขึ้นหรือน้อยลง
3.การได้รับยา และสารพิษต่างๆ
1.ความผิดปกติของเนื่อเยื่อสมอง
-ภาวะอักเสบ/ติดเชื้อที่สมอง ได้แก่ Brain abscess, Encephalitis
-เนื้องอก ได้แก่ Brain tumor ชนิด Astrocytoma หรือ Metastasic brain tumor
4.ภาวะแทรกซ้อนของโรคอื่นๆ
การตรวจวินิจฉัยโรค :star:
2.การตรวจร่างกาย
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจระดับของสารพิษต่างๆ ในเลือดและปัสสาวะ
การทำ Computed tomography scan (CT) หรือ Magnetic resonance imaging (MRI)
การตรวจเลือด เช่น CBC, Blood sugar, Calcium, BUN, Cr, Electrolyte
1.การชักประวัติโดยการสอบถามผู้ป่วยญาติหรือผู้เห็นเหตุการณ์
การพยาบาล :pencil2:
ข้อวินิจฉัยข้อที่ 1เสี่ยงต่อการชักซ้ำเนื่องจากเป็นโรคลมชัก
กิจกรรมการพยาบาล
ให้การพยาบาลด้วยความนุ่มนวล
5.จัดสิ่งแวดล้อมรอบเตียงให้สะอาด เงียบ อากาศถ่ายเทสะดวก ควรระมัดระวัง ในการวางสิ่งของไว้ บนเตียง หรือบริเวณใกล้เคียง เพื่อป้องกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นขณะเด็กชัก
เตรียมไม้กดลิ้นไว้ที่โต๊ะข้างเตียงในรายที่มีอาการชักเกร็ง
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการพักผ่อนอย่างเพียงพอ
วัดสัญญาณชีพอย่างน้อยทุก 4 ชั่วโมง
ภายหลังให้การพยาบาลให้ยกไม้กั้นเตียงขึ้นทุกครั้ง
1.สังเกตลักษณะอาการชัก
ข้อวิจฉัยข้อที่ 2เสี่ยงต่อการเกิดอันตรายต่อร่างกายเนื่องจากมีอาการชัก
กิจกรรมการพยาบาล
ขณะชักให้งดน้ำ งดอาหาร ทางปาก
สังเกตและบันทึกลักษณะการชัก ระดับความรู้สึกตัวขณะชัก
ป้องกันอุบัติเหตุและอันตรายจากการชัก เช่น ตกเตียง เป็นต้น
ขณะชัก ผู้ป่วยที่ชักโดยไม่มีอาการเตือนล่วงหน้า ต้องระวังมิให้ผู้ป่วยล้มลงพื้นถ้านั่งอยู่ให้จับลงนอนกับพื้นหรือเตียง ปลดขยายเสื้อผ้าที่รัดรึงร่างกายออก โดยเฉพาะรอบๆ คอ เลื่อนสิ่งของที่เป็นอันตรายออกไป วางหมอนที่นุ่มๆ หรือผ้าหนุนศรีษะจัดให้ตะแคงหน้าให้น้ำลายไหลออกสะดวก ไม่ควรใส่ไม้กดลิ้นขณะกำลังชัก ไม่ควรกดหรือผูกมัดผู้ป่วยจะทำให้เกิดแรงต้านกระดูกสันหลังหักได้
ดูแลให้ออกซิเจนตามแผนการรักษาในรายที่มีอาการหายใจขัดหรือเขียว
7.หลังชัก เคลื่อนย้ายผู้ป่วยไปนอนในที่ปลอดภัย อาการถ่ายเทดี และเช็ดตัวเปลี่ยนเสื้อผ้าและบันทึกการชัก
จัดให้นอนราบไม่หนุนหมอน ตะแคงหน้าไปด้านใดด้านหนึ่ง ทำทางเดินหายใจให้โล่ง โดยการดูด เสมหะเพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ป่วยสำลักเสมหะหรือน้ำลาย
ข้อวิจฉัยข้อที่ 3 เสี่ยงต่อเนื้อเยื่อของร่างกายได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอเนื่องจากมีการอุดกั้นทางเดินหายใจ
กิจกรรมการพยาบาล
สอนการไออย่างมีประสิทธิภาพ เพราะการไออย่างมีประสิทธิภาพจะทำให้ลดการคั่งค้างของเสมหะที่ปอดทา ให้ปอดขยายตัวได้เพิ่มขึ้น
Vital sign ทุก 4 ชม เพราะการประเมินสัญญาณชีพจะช่วยให้ทราบความรุนแรงของภาวะพร่องออกซิเจน
ดูแลให้ผู้ป่วยพักผ่อนบนเตียง เพราะการพักผ่อนบนเตียงจะช่วยลดการใช้ออกซิเจนในการทำกิจกรรม ทำ ให้อาการเหนื่อยอ่อนเพลียลดลง
ประเมิน O2 saturation ทุก 4 ชม เพราะเป็นการวัดระดับความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด
2.จดัท่านอนศีรษะสูง เพราะทำให้กระบังคมเคลื่อนต่ำลง ปอดขยายตัวได้เต็ม ที่เพิ่มพื้นที่ในการแลกเปลี่ยน ก๊าซมากขึ้น
ติดตามผล lab Hb, Hct และ Chest X-Ray เพราะเป็น ค่าที่แสดงถึงความเข้มข้นของเลือดในร่างกายและ Chest X-ray เป็นการประเมินความก้าวหน้าของการรักษาซึ่งอาจพบฝ้าขาวในปอดลดลงหรือเพิ่มขึ้น
ประเมินภาวะพร่องออกซิเจน ประเมินอัตราการหายใจ ชีพจร สีของเล็บ ปลายมือปลายเท้า เยื่อบุผิวหนัง ลักษณะการซีด เขียว เพราะอาการหายใจหอบ ชีพจรเร็ว ปลายมือปลายเท้า เยื่อบุผิวหนัง ลักษณะการซีด เขียว แสดงถึงภาวะพร่องออกซิเจน เพื่อรายงานแพทย์พิจารณาการให้ออกซิเจน
การรักษา :!:
การผ่าตัดสมอง
กรณีที่การใช้ยาไม่สามารถควบคุมอาการชักได้ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญจะแนะให้เข้ารับการผ่าตัดเพื่อนำเอาสมองส่วนที่เป็นสาเหตุของโรคลมชักออก
การใช้ยาต้านอาการชัก
(Anti-epileptic Drugs: AEDs) ยาต้านอาการชักนั้นไม่สามารถรักษาโรคลมชักให้หายขาดได้ ทำได้เพียงควบคุมอาการชักเท่านั้น
การเลือกใช้ยาต้านอาการชักนั้นจะขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ
อายุของผู้ป่วย
การใช้ยาของผู้ป่วย เนื่องจากยาต้านอาการชักอาจส่งผลกับยาชนิดอื่น ๆ ที่ผู้ป่วยใช้อยู่ เช่น ยาคุมกำเนิด
ชนิดของอาการชักที่ผู้ป่วยเป็น
ภาวะชักจากไข้(Febrie Convulsion) :black_flag:
การวินิจฉัย :!!:
2.การตรวจร่างกาย
ต่อมทอนซิลบวมแดง
มีเสมหะสีเหลือง
พบว่าเด็กมีอุณหภูมร่างกายสูงกว่าปกติ หน้าแดง
3.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การเพาะเชื้อ
การตรวจปัสสาวะ
การตรวจนับเม็ดเลือด Complete blood count:CBC
1.การซักประวัติ
-ประวัติมีไข้สูง ตัวร้อน
-มีอาการติดเชื้อที่ระบบใดระบบหนึ่งของร่างกายการเจ็บคอกลืนไม่ได้ในเด็กที่มีการติดเชื้อที่ต่อมทอมซิล
4.การตรวจพิเศษ
การตรวจเอกสเรย์คอมพิวเตอร์สมอง CT scan
การตรวจคลื่นไฟฟ้าสมอง EEG
การตรวจเจาะน้ำไขสันหลัง Lumbar puncture
การรักษา :forbidden:
รักษาระยะเฉียบพลัน
ลอราซีแพม lorazepam จะหยุดซักได้ภายใน2-3นาที
ไดอาซีแพมdiazepamระงับอาการซักได้เร็วแต่อาจจะกับมาเป็นได้อีกภายใน15นาที
วาลโพรอิคvalproic acid ให้ทางปากหนือสวนทางทวารหนัก ระดับขึ้นสูงสุดภายใน2-4ชั่วโมง
อาการและอาการแสดง :star:
2.Complex Febrile convulsion เป็นอาการชักจากไข้ที่มีอาการรุนแรงนานเกิน 15 นาที ขึ้นไปอาจมีอาการซักซ้ำภายใน 24 ชั่วโมง ติดต่อกันหลายครั้งมีอาการเกร็งกระตุกเฉพาะซีกของร่างกาย
1.Simple Febrile convulsion
จะเป็นการซักแบบซักเกร็งกระตุกทั้งตัว generalized tonic clonic seizure ไม่รู้ตัว ปัสสาวะอุจจาระราด อาจมีหายใจลำบากร่วมด้วย อสการชักเป็นช่วงสั่นๆนานไม่เกิน 5 นาที
การพยาบาล :pencil2:
7.สังเกตและบันทึกการซัก ลักษณะใบหน้า ระดับการรู้สติของเด็ก ก่อน ระหว่าง และหลังการซัก
กิจกรรมการพยาบาล
3.แจกเอกสารแผ่นพับเรื่องการดูแลผู้ป่วยอาการซักเมื่อกลับบ้าน
4.แนะนำการอ่านสื่อโปสเตอร์การจักการอาการไข้
2.สาธิตและให้ผู้ดูแลสาธิตย้อนกับเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยเช่นการเช็ดตัวลดไข้
5.เปิดโอกาสให้ผู้ดูแลซักถาข้อสงสัย
1.สอน/อธิบายเกี่ยวกับการจักการอาการไข้
ข้อวินิจฉัยข้อที่ 2ไม่สุขสบายจากการไข้สูง
กิจกรรมการพยาบาล
2.อธิบายการจักการอาการไข้เพื่ให้ผู้ดูแลมั่นใจว่าสามารถช่วยป้องกันอาการซักได้
3.ให้ผู้ดูแลมีส่วนร่วในการดูแลผู้ป่วย เช่น การเช็ดตัวลดไข้ การวัดไข้เมื่อรู้สึกกังวลว่าผู้ป่วยจะมีไข้
1.พยาบาลอธิบายข้อมูลการ การรักษาที่ได้รับเป็นระยะๆอย่างต่อเนื่อง
5.ดูแล ติดตาม ให้กำลังใจอย่างใกล้ชิดในระยะแรก ประเมินว่าผู้ดูแลยังขาดความรู้/ความเข้าใจ/ทักษะอยู่หรือไม่
ข้อวินิจฉัยข้อที่ 2ไม่สุขสบายจากการไข้สูง
กิจกรรมการพยาบาล
3.คลายเสื้อผ้าเด็กให้หลวมๆ
4.ดูแลเรื่องระบบทางเดินหายใจให้เด็กหายใจได้สะดวกโดยจัดให้นอนตะแคงศีรษะต่ำกว่าลำตัว
2.ดูแลเช็ดตัวลดไข้
5.รับประทานยาลดไข้ตามแผนการรักษา
1.วัดv/s ทุก4ซม.
6.ดูแลให้ได้รับการพักผ่อน
ข้อวินิจฉัยข้อที่ 2ไม่สุขสบายจากการไข้สูง
กิจกรรมการพยาบาล
4.คลายเสื้อผ้าให้หลวมโดยเฉพาะรอบๆคอเพื่อให้หายใจได้สะดวก
5.ไม่ใช้ไม้กดลิ้นผู้ป่วยเพราะอาจจะเป็นอันตรายจากการฟันหัก
3.ไม่ควรผูกยึดตัวเด็กขณะที่มีอาการซัก
6.ดูแลให้ยาควบคุมการซักตามแผนการรักษา
2.จัดให้เด็กนอนราบใช้ผ้านิ่มๆเช่นผ้าห่หรือผ้าเช็ดตัวหนุนบริเวณใต้ศีรษะเพื่อป้องกันไม่ให้ศีรษะกระแทกกับพื้นเตียง
7.สังเกตและบันทึกการซัก ลักษณะใบหน้า ระดับการรู้สติของเด็ก ก่อน ระหว่าง และหลังการซัก
1.จัดให้เด็กนอนตะแคงหน้าเพื่อให้น้ำลายไหลออกจากปาก
ข้อวินิฉัยข้อที่ 1.เสี่ยงต่อการเกิดอาการซักซ้ำเนื่องจากไข้สูง
กิจกรรมการพยาบาล
3.กระตุ้นการดื่น้ำ,ดูดนม
4.ดูแลให้ยาลดไข้ตาแผนการรักษา(กรณีไข้มากกว่า38องศาเซลเซียส)
2.ดูแลเช็ดตัวลดไข้
5.ดูแลให้สวมเสื้อผ้าบางๆ
1.วัดv/s (Temp,Pulse,RR) ทุก4ซม.
ุ6.ติดตามไข้ทุก15-30นาที
7.ดูแลให้พักผ่อนสังเกตอาการเปลี่ยนแปลงที่บ่งชี้ว่ามีอาการชัก
8.เตรียออกซิเจนและลูกสูบยางแดงประขำ
สาเหตุ :red_flag:
2.การติดเชื้อ การติดเชื้อในระบบต่างๆของร่างกาย
3.ภาวะขาดธาตุเหล็ก
1.พันธุกรรม ครอบครัวมีระบบเป็นโรคลมชัก
4.ไซโตไคน์ cytokines