Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดระบบสารสนเทศภายในสถานศึกษาเพื่อการบริหารและการประกันคุณภาพการศึกษาขอ…
การจัดระบบสารสนเทศภายในสถานศึกษาเพื่อการบริหารและการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
ความสำคัญของการบริหารสถานศึกษา
การบริหารสถานศึกษาเป็นภารกิจหลักของสถานศึกษาที่จะต้องกำหนดแบบแผน วิธีการ และขั้นตอนต่างๆ ในการปฏิบัติงานไว้อย่างเป็นระบบ เพราะถ้าระบบการบริหารงานไม่ดีจะกระทบกระเทือนต่อส่วนอื่นๆ ขององค์กร
หลักการบริหารสถานศึกษา
3) การกระจายอำนาจ (Decentralization)
4) ความรับผิดชอบตรวจสอบได้ (Accountability)
การมีส่วนร่วม (Participation) กำหนดให้บุคคลหลายฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาเข้ามามีส่วนร่วมเป็นคณะกรรมการร่วมแสดงความคิดเห็นหรือร่วมกำกับติดตามดูแล
5) ธรรมาภิบาล (Good Governance)
1.ยึดโรงเรียนเป็นศูนยก์ลางในการตัดสินใจ (School-Based Decision)
6) ความเป็นนิติบุคคล (A juristic person) เป็นการให้สิทธิและอำนาจหน้าที่กำหนดไว้เป็นของตนเอง
การบริหารสถานศึกษา
หน้าที่ในการบริหารสถานศึกษา
การจัดองค์กร (Organizing) หมายถึง กระบวนการจัดการทรัพยากรต่างๆ และการจัดระบบการดำเนินงานเพ่อืให้บรรลุเป้าหมายขององค์กร
การนำ (Leading) หมายถึง การอำนวยการและการประสานงาน เพื่อให้บุคลากรปฏิบัติงานบรรลุเป้าหมายขององคก์าร ซึ่งต้องอาศัยภาวะผู้นำของผู้บริหาร
การวางแผน (Planning) หมายถึง การตัดสินใจล่วงหน้าว่าจะดำเนินการอย่างไรให้บรรลุและวัตถุประสงค์กำหนดไว้อย่างมีประสิทธภิาพเกิดประโยชน์ต่อองค์กรมาก ที่สุด
การควบคุม (Controlling) หมายถึง การกำกับให้การดำเนินงานและกจิกรรมต่างๆ ที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามเป้าหมายและแผนขององคก์ารที่ได้กำหนดไว้
ภารกิจในการบริหารสถานศึกษา
กระบวนการการบริหารคุณภาพภายในสถานศึกษา
กระบวนการ (PDCA)
การดำเนินการตามแผนและระบบการปฏิบัติงาน (Do)
การตรวจสอบและประเมินผล (Check)
การวางแผนและระบบการปฏิบัติงาน (Plan)
การปรับปรุงและพัฒนา (Action)
กระบวนการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (SBM)
กระบวนการบริหารอื่น ๆ ที่โรงเรียนนำมาใช้ตามความแตกต่างของโรงเรียน
ระบบสารสนเทศใน
สถานศึกษา
คำที่เกี่ยวข้องกับการจัดระบบสารสนเทศในสถานศึกษา
สารสนเทศ (Information) หมายถึง ขอ้มูลที่ได้ผ่านการประมวลผลหรือการวเิคราะห์ ด้วยวิธีการต่างๆ จนอยู่ในรูปแบบที่มีความหมาย
ระบบสารสนเทศ (Information System) หมายถึง กระบวนการเก็บรวบรวมขอ้มูล การประมวลผลให้อยใู่นรูปสารสนเทศที่เป็นประโยชน์สูงสุดและการจัดเก็บรักษาอย่างมีระบบ
ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงต่างๆซึ่งอาจแสดงเป็นตัวเลข ตัวหนังสือหรือสัญลักษณ์
ขั้นตอนการดำเนินงาน
การรวบรวมข้อมูล
การประมวลผลข้อมูล
การตรวจสอบข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศ
การนำเสนอข้อมูลและสารสนเทศ
การจัดโครงสร้างระบบบริหารงานที่เอื้อต่อการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
กำหนดผู้รับผิดชอบและจัดระบบสารสนเทศให้เป็นหมวดหมู่ ครอบคลุม เป็นปัจจุบัน สะดวกต่อการเขา้ถึงและการให้บริการ
นำขอ้มูลสารสนเทศไปใช้ประโยชน์ในการบริหารและการพัฒนาการเรียนการสอน จากหลักการดังกล่าวสถานศึกษามีภารกิจในการบริหารสถานศึกษา
จัดโครงสร้างหรือระบบบริหารงานของสถานศึกษาที่เอื้อต่อการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
องค์ประกอบของระบบบริหารภายในสถานศึกษา
3.ผลผลิต (Output) เป็นสิ่งที่ต้องการให้เกิดขั้นตามวัตถุประสงค์ของระบบ
4.ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) เป็นส่วนที่ใช้ควบคุมการทำงานของระบบให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์รวมถึงชี้ให้เห็นข้อดีและข้อบกพร่องของปัจจัยนำเข้า กระบวนการและผลผลิต ซึ่งจะนำไปสู่การปรับปรุงเพ่ือให้ได้มาซึ่งคุณภาพตามต้องการ
2.กระบวนการ (Process) เป็นการทำหน้าที่แปรสภาพทรัพยากรหรือประมวลผลให้เป็นผลผลิต
5.สภาพแวดล้อม (Environment) เป็นสภาพทั่วไปของบริบทที่อยู่ล้อมรอบระบบหรือองคก์าร
1.ปัจจัยนำเข้า (Input) เป็นทรัพยากรหรือสิ่งที่จำเป็นเพื่อนำไปสู่ระบบและก่อให้เกิดการทำงาน
การกำหนดผู้รับผิดชอบและจัดระบบสารสนเทศ
การจัดระบบสารสนเทศให้เป็นหมวดหมู่
หากไม่มีการจัดระบบข้อมูลสารสนเทศให้เป็นระบบแล้วจะเกิดความไม่สะดวกหรือเกิดความยุ่งยากในการนำไปใช้
การจัดระบบบริหารและสารสนเทศที่เอื้อต่อการพัฒนาระบบการประกัน คุณภาพภายในของสถานศึกษา
จำเป็นต้องมีการกำหนดผู้รับผิดชอบและจัดระบบสารสนเทศให้เป็นหมวดหมู่ ครอบคลุม เป็นปัจจุบัน สะดวกต่อการเข้าถึงและการให้บริการ
การนำข้อมูลสารสนเทศไปใช้ประโยชน์
การใช้ประโยชน์จากระบบขอ้มูลสารสนเทศของแต่ละงานหรือแต่ละด้านมิได้แยกส่วนขาดจากกัน หลายงานอาจใช้ข้อมูลสารสนเทศร่วมกันและข้อมูลสารสนเทศระบบหนึ่งก็อาจใช้ได้กับงานหลายงาน ทั้งนี้ข้ึนอยู่กับการวิเคราะห์และการมองเห็นประโยชน์ของผู้ใช้