Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎี และรูปแบบการจัดการเรียนรู้ (การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้…
ทฤษฎี และรูปแบบการจัดการเรียนรู้
ทฤษฎีเกิดขึ้นได้อย่างไร
เกิดขึ้นได้เพราะคนเรามีความสนใจในปรากฏการณ์ต่าง ๆรอบตัวและขณะสังเกตปรากฏการณ์เหล่านั้น ก็เกิดความคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับปราฏกการณ์เหล่านั้น
การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้
หลักการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้
ต้องมีการวิจัยเพื่อทดสอบทฤษฎี ตรวจสอบคุณภาพเมื่อนำไปใช้จริงและนำข้อค้นพบจากการวิจัยมาแก้ไขปรับปรุง
พิจารณาเลือกรูปแบบจากจุดประสงค์หลัก
ต้องมีทฤษฎีรองรับ
อาจออกแบบให้ใช้ได้อย่างกว้างขวางหรือวัตถุุประสงค์เฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ึ่งก็ได้
ขั้นตอนการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้อย่างมีขั้นตอนตามที่ Seels and Glasgow (1990)เสนอไว้
การประเมินความก้าวหน้าระหว่างเรียน
การนำไปใช้ในสถานการณ์จริงและการปรับปรุง
พัฒนาวัสดุอุปกรณ์
ตัดสินใจเกี่ยวกับสื่อการเรียนการสอน
การประเมินสรุป
กลวิธีการสอน
การเผยแพร่ขยายผลนำไปใช้
ระบุจุดประสงค์และแบบทดสอบ
การวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้และภาระงาน
การวิเคราะห์ปัญหา
แนวคิดการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยอาศัยวิธีการเชิงระบบ(System Approach) ตามที่ Malachowski(2004)เสนอไว้
ขั้นตอนการพัฒนา
ขั้นตอนการนำไปใช้
ขั้นตอนการออกแบบ
ขั้นตอนประเมิน
ขั้นตอนการวิเคราะห์
ระดับของทฤษฎี
ทฤษฎีระดับกลาง ไม่สามารถตรวจสอบได้ชัดเจน เช่น ทฤษฎีทางสังคมศาสตร์ ศึกษาศาสตร์
ทฤษฎีระดับต่ำ ไม่สามารถตรวจสอบได้อย่างชัดเจน เช่น ทฤษฎีทางมนุษยศาสตร์
ทฤษฎีระดับสูง สามารถตรวจสอบได้อย่างชัดเจน เช่น ทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีคืออะไร
ข้อความที่กลี่าวถึงความสัมพันธ์ของปรากฏการณ์ต่าง ๆ เพื่อสรุปหรืออธิบายหรือทำนายปรากฏการณ์เหล่านั้น
คุณสมบัติของทฤษฎี
ต้องสามารถนิรนัยความจริงหลักนั้นออกมาเป็นกฎหรือความจริงอื่น ๆได้
ต้องสามารถทำนายปรากฏการณ์นั้นได้
ต้องสามารถอธิบายความจริงหลักของปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นได้
ความหมายของรูปแบบการจัดการเรียนรู้
สภาพหรือลักษณะของการจัดการเรียนการสอนที่จัดขึ้นอย่างเป็นระบบตามหลักปรัชญา ทฤษฎี หลักการ แนวคิดต่าง ๆมีลำดับขั้นตอนการจัดการเรียนการสอนอย่างชัดเจน โดยอาศัยวิธีการจัดการสอนและเทคนิคการสอนต่าง ๆ
องค์ประกอบของรูปแบบการจัดการเรียนรู้
มีการบรรยายและอธิบายลักษณะของการจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับหลักการที่ยึดถือ
มีการจัดองค์ประกอบและความสัมพันธ์ขององค์ประกอบที่สามารถนำผู้เรียนให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้
มีปรัชญา ทฤษฎี หลักการ แนวคิดหรือความเชื้อพื้นฐานที่เป็นหลักของรูปแบบการจัดการเรียนรู้นั้น ๆ
มีการอธิบายวิธีการจัดการเรียนรู้และเทคนิตการจัดการเรียนรู้ที่จะช่วยให้กระบวนการจัดการเรียนรู้นั้นเกิดประสิทธิภาพสูงสุด
รูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยเน้นทักษะกระบวนการ
กระบวนการสร้างความตระหนัก
วิเคราะห์วิจารณ ให้ตัวอย่าง สถานการณ์
สรุป อภิปรายหาเหตุหาผล
สังเกต จัดสถานการณ์หรือให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
กระบวนการปฏิบัติ
ขั้นทำตามแบบ
ขั้นให้ทำเองโดยไม่มีแบบ
ขั้นสังเกต รับรู้ รู้จัก
ขั้นฝึกให้ชำนาญ
ทักษะกระบวนการ 9 ประการ
ขั้นสร้างทางเลือกที่หลากหลาย
ขั้นประเมินและเลือกทางเลือก
ชั้นคิดวิเคราะห์วิจารณ์
ขั้นตระหนัก
ขั้นกำหนดและลำดับขั้นตอนการปฏิบัติ
ขั้นปฏิบัติอย่างชื่นชม
ข้ั้นประเมินระหว่างปฏิบัติ
ขั้นปรับปรุง
ขั้นประเมินผลรวม
รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบการสืบเสาะหาความรู้(5E)
แนวคิดของการจัดการเรียนรู้
กระบวนการปรับขยายโครงสร้าง
ปรัชญาวิทยาศาสตร์แนวใหม่
ทฤษฎีการเสริมสร้างความรู้
ขั้นตอนการจัดการเรียนการสอน
ขั้นสำรวจและค้นหา
ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป
ขั้นสร้างความสนใจ
ขั้นขยายความรู้
ขั้นประเมิน
รูปแบบการเรียนการสอนตามวัฏจักรการเรียนรู้ 4MAT
วัตถุประสงค์ของรูปแบบ
ช่วยให้ผู้เรียนได้มีโอกาสได้ใช้สมองทุกส่วนในการสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ตนเอง
กระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบ
การสร้างสรรค์ชิ้นงานขอตนเอง
การวิเคราะห์ผลงานและแนวทางในการนำไปประยุกต์ใช้
การปฏิบัติตามแนวคิดที่ได้เรียนรู้
การแลกเปลี่ยนความรู้ความคิด
การพัฒนาความรู้ความคิด
การพัฒนาประสบการณ์
การวิเคราะห์ประสบการณ์
การสร้างประสบการณ์
รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบซิปปา
ลำดับขั้นการสอน
ขั้นการแสวงหาความรู้ใหม่
ขั้นการศึกษาทำความเข้าใจข้อมูลความรู้ใหม่และเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิม
ขั้นการทบทวนความรู้เดิม
ขั้นแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจกับกลุ่ม
ขั้นการสรุปและจัดระเบียบความรู้
ขั้นการปฏิบัติและ/หรือการแสดงผลงาน
ขั้นการประยุกต์ใช้ความรู้
วัตถุประสงค์
มุ่งพัฒนาผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยอาศัยความร่วมมือจากกลุ่ม ช่วยพัฒนาทักษะกระบวนการคิด กระบวนการกลุ่ม กระบวนการปฏิสัมพันธ์ทางสังคมและกระบวนการแสวงหาความรู้
รูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้โครงงานหรือโครงการ(Project Work)
รูปแบบโครงงาน
โครงงานแบบกึ่งกำหนดโครงสร้าง
โครงงานแบบไม่กำหนดโครงสร้าง
โครงงานแบบกำหนดโครงสร้าง
วัตถุประสงค์
ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ทักษะการสืบค้น
กระบวนการเรียนการสอน
ขั้นรายงานผลการปฏิบัติงานสู่ชั้นเรียน
ขั้นกระบวนการย้อนกลับ
ขั้นลงมือปฏิบัติงานตามหัวเรื่อง
ขั้นโครงสร้างของโครงงาน
ขั้นเลือกหัวข้อ
ขั้นกระตุ้นให้เกิดความสนใจ
ขั้นสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ(Cooperative Learning)
หลักการเรียนรู้แบบร่วมมือ
ความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ของสมาชิกแต่ละคน
การใช้ทักษะการปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและทักษะการทำงานกลุ่มย่อย
การวิเคราะห์กระบวนการกลุ่ม
การปรึกษาหารือกันอย่างใกล้ชิด
การพึ่งพาและเกื้อกูลกัน
กระบวนการเรียนการสอนตามรูปแบบ
Team - Games - Tournaments(TGT)
Student Teams-Achievement Division (STAD)
Jigsaw
Team-Assisted Individualization(TAI)
Learning Together(L.T.)
Group Investigation(G.I.)
Cooperative Integrated Reading and Composition(CIRC)
Co-op- Co-op