Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเจริญเติบโตและพัฒนาการ 2.การส่งเสริมพัฒนาการแลการส่งเสริมสุขภาพ (2…
การเจริญเติบโตและพัฒนาการ
2.การส่งเสริมพัฒนาการแลการส่งเสริมสุขภาพ
2.1การส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สติปํญญา
พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหว
กล้ามเนื้อมัดใหญ่
5-6 เดือน พลิกคว่ำพลิกหงาย นั่งโดยใช้มือยันได้ชั่วคราว
10-12 เดือน เกาะเดิน ตั้งไข่ เดินได้ 2-3 ก้าว
3-4 เดือน Chest up
13-15 เดือน เดินได้ ขว้างปาสิ่งของ โยนลูกบอล
2 เดือน ท่านอนคว่ำยกศีรษะได้ 45 องศา
16-18 เดือน ปีนปายตามฟอร์นิเจอร์
1 เดือน เริ่มชันคอได้ ดึงแขนจากท่านอนเป็นนั่ง ศีรษะตกไปด้านหลัง
กล้ามเนื้อมัดเล็ก
3-4 เดือน คว้าวัตถุที่อยู่ใกล้ได้
5-6 เดือน หยิบของโดยใช้นิ้วหัวแม่มือร่วมกับนิ้วอื่น จับขวดนมได้เอง
7-9 เดือน หยิบของโดยใช้นิ้วได้ ชอบเอานิ้วแหย่ตามช่องต่างๆ
13-15 เดือน ต่อบล็อกไม้ได้ 2 ชั้น
16-18 เดือน ต่อบล็อกไม้ได้ 3 ชั้น ขีดเส้นตรงแนวตั้งตามแบบได้ พยายามหมุนลูกบิดประตู
2-3ปี จับดินสอด้วยนิ้ว วาดวงกลมตามแบบ
3-4 ปี ใช้กรรไกรตัดกระดาษได
7-9 เดือน กลัวคนแปลกหน้า
10-12 เดือน ดื่มน้ำจากแก้ว
16-18 เดือน ใช้ช้อนตักอาหารแต่ยังหกเล็กน้อย
19-24เดือน แปรงฟันโดยมีผู้ช่วยล้างและเช็ดมือได้เอง ใส่กางเกงยางยืดได้
พัฒนาการด้านสติปัญญาและจริยธรรม
ปัญหาด้านจริยธรรมนำมากำพํฒนาจริยธรรม
แบ่งออกเป็น 3 ระดับ
ระดับที่ 1 ระดับจริยธรรมที่ยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง
เป็นพัฒนาการ ทางจริยธรรมในช่วงวัยเด็ก พ่อแม่มักเป็นผู้วางก าหนดกฎเกณฑ์พฤติกรรมทางจริยธรรมว่าสิ่งใดดีหรือไม่ดี
เด็กในวัยนี้จะเก็บกดความต้องการแสดงพฤติกรรมบางอย่างของตนเอง และยอมรับเอากฎเกณฑ์
ที่พ่อ แม่กำหนดเพราะกลัวการลงโทษ
ระดับที่ 2 ระดับจริยธรรมตามที่สังคมยอมรับ
เป็นพัฒนาการ ทางจริยธรรมในช่วงวัยเรียนตั้งแต่ระดับประถมศึกษาถึงมัธยมศึกษา
ผู้เรียนจะยอมรับพฤติกรรมทาง ศีลธรรม จรรยาและกฎเกณฑ์ที่กำหนดขึ้นในสังคมที่ตนเป็นสมาชิกอยู่เช่น บ้าน โรงเรียน
ระดับที่ 3 ระดับจริยธรรมที่ยึดถือหลักการเหนือกฎเกณฑ์ที่สังคมสร้างขึ้น
เป็นพัฒนาการทางจริยธรรมในวัยผู้ใหญ่ การแสดงพฤติกรรมทางจริยธรรม
ยึดถือหลักการความถูกต้องตามมาตรฐานทางจริยธรรมที่ตนเองหรือกลุ่มยึดถือ
ได้แก่ การปฏิบัติตามค่านิยมที่ยึดถือ อุดมการณ์ และความเชื่อ
โคลเบอร์กได้พัฒนาการด้านจริยธรรมของบุคคล
อธิบายการแสดงออกของพฤติกรรม
ทฤษฎีพัฒนาการเด็ก
ทฤษฎีพัฒนาจิตวิเคราะห์ฟรอยด์
อีโก้เป็นองค์ประกอบของบุคลิกภาพที่อยู่ในจิตสำนึก
ซูเปอร์อีโก้ เป็นองค์ประกอบของบุคลิกภาพที่พัฒนาจากอีโก
อิด เป็นองค์ประกอบที่ติดตัวมาตั้งแต่เกิด
ฟรอยด์กับพัฒนาการทางเพศในด้านจิตใจ
Phallic stage
วัยนี้เด็กจะเกิด ปมอีดีปุส (oedipus complex) คือด็กชายจะติดแม่อิจฉาพ่อที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับแม
Latency stage ระยะพัก
อายุระหว่าง 6-12 ปี ระยะนี้ความรู้สึกทางเพศถูกกดเด็กจะไม่สนใจเพศตรงข้าม
หันมาเล่นกับเพศเดียวกัน
Genital stage
ความพึงพอใจเพศตรงข้าม
อายุระหว่าง 12-14 ปี เป็นระยะที่เข้าสู่วัยรุ่น
เริ่มสนใจเพศตรงข้าม และสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่น
Anal stage
เด็กในวัย 2 ปีแรก จะมีศูนย์กลางอยู่ที่ทวารหนัก
ถ้าเด็กถูกบังคับมากเกินไปหรือเข้มงวดมากเกินไป เด็กไม่ได้รับความพึงพอใจ
Oral stage
แรกเกิด- 1 ปี กิจกรรม ดูดกัด เคี้ยว การส่งเสียง
เด็กไม่ได้รับการตอบสนองที่พึงพอใจเต็มที่ จะเป็นลักษณะ “จิตยึดติด
2.3การแก้พฤติกรรมผิดปกติตามวัย ดูดนิ้ว อิจฉาน้อง
พฤติกรรมอิจฉาน้อง
สาเหตุ
มีน้องใหม่ เคยเป็นหนึ่งมาตลอด
รู้สีกว่าถูกแบ่งปันความรัก
การแกไข้
ช่วงคลอดน้องแล้วไม่ควรนำพี่เข้าโรงเรียน
กระตุ้นให้ช่วยดูแลน้อง เช่น อาบน ้า เปลี่ยนผ้าอ้อม
ทำทุกอย่างให้เด็กรู้ว่ายังเป็นที่รักของบิดามารดา
การดูดนิ้วหัวแม่มือ
แต่ถ้า2-3 ขวบ ยังดูดนิ้วอาจเกิดปัญหาความวิตกกังวล
ระยะยาวถ้าไม่เลิกอาจส่งผลต่อการผิดรูปของฟัน
พบได้ในระยะ Oral stage
2.2 การคัดกรองและพัฒนาส่งต่อ
แบบคัดกรองพัฒนาการเด็ก
เป็นแบบประเมินที่จำแนกตามอายุผู้ปกครองสามารถประเมินได้ด้วยตนเอง
จำแนกเป็นแต่ละวัยได้แก่ 6 9 12 18 เดือน และ 2 3 4 5 6 ปี
หากพบความผิดปกติ จะต้องแนะนำให้ไปพบแพทย์
ตัวอย่าง
แบบคัดกรองพัฒนาการเด็กอายุ 12 เดือน
จับเด็กยืนแล้วปล่อยมือ เด็กยืนอยู่ได้อย่างน้อย 2 วินาที (นับ 1-2)
ใช้นิ้วหัวแม่มือ และนิ้วชี้หยิบของชิ้นเล็กขนาดเท่าเมล็ดถั่ว
แบบคัดกรองพัฒนาการเด็กอายุ 9 เดือน
เมื่อแม่เรียกและทำท่าอุ้ม เด็กโผเข้าหา หรือยื่นแขนให้ (ถามจากแม่ หรือผู้เลี้ยงดูเด็ก)
พูดเสียงซ้ำๆ เช่น บาบา ดาดา หม ่า ๆ จ๋าจ๊ะ (ถามจากแม่หรือผู้เลี้ยงดูเด็ก)
จับเด็กนั่ง แล้วปล่อยมือ เด็กนั่งอยู่ได้นาน โดยไม่ต้องใช้มือยัน
แบบคัดกรองพัฒนาการเด็กอายุ 6 เดือน
. ส่งเสียงเล่น หรือพ่นน้ำลายเล่น (ถามจากแม่ หรือผู้เลี้ยงดูเด็ก)
. เมื่ออยู่ท่าคว่ำหรืออุ้มนั่ง ใช้มือหยิบของใกล้ตัวได้
พลิกคว่ำและหงายได้เองทั้งสองอย่าง
การแปลผล
อายุ 18 เดือน ถ้าได้ 4 คะแนน หรือต่ำกว่า ให้สงสัยพัฒนาการล่าช้า
อายุ2ปีและ4 ปี ถ้าได้2 คะแนนหรือต่ำกว่าให้สงสัยภาวะปัญญาอ่อน
อายุ 6 เดือน, 9 เดือน, 12 เดือนถ้าได้ 3 คะแนน หรือตต่ำกว่า ให้สงสัยพัฒนาการล่าช้า
อายุ 3 ปี, 5 ปี และ 6 ปีถ้าได้ 3 คะแนนหรือต่ำกว่าให้สงสัยภาวะปัญญาอ่อน
นางสาว กนกวรรณ เนียมพลู รุ่น36/1 เลขที่ 5
เอกสารอ้างอิง จากเอกสารการเรียน เรื่องการเจริญเติบโตและพัฒนาการ.อาจารย์กัลยา ศรีมหันต์
วัชราภรณ์ พรหมมัน.2559.การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์.สืบค้น 13 เมษายน2563 จาก
https://sites.google.com/site/karceriyteibtokhxngmnusy/home/kar-ceriy-teibto-laea-phathnakar-khxng-thark