Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 การประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์สารสนเทศ (ลักษณะของสารสนเทศที่ดี…
บทที่ 6 การประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์สารสนเทศ
หลักเกณฑ์ในการพิจารณาสารสนเทศที่ดี
พิจารณาความน่าเชื่อถือ
ความถูกต้องของสารสนเทศ
เปรียบเทียบแหล่งที่มาของสารสนเทศ
กับสารสนเทศที่ได้มาจากแหล่งอื่น
มีการอ้างอิงและบรรณานุกรมหรือไม่
เป็นสารสนเทศปฐมภูมิหรือทุติยภูมิ
การเขียน การสะกดคำ ถูกต้องตามหลัก
ไวยากรณ์
ความเที่ยงตรง
พิจารณาเนื้อหาว่ามีส่วนใดที่ทำให้เกิดความลำเอียง
ผู้แต่งใช้ข้อเท็จจริงสนับสนุนการแสดงความ
คิดเห็นหรือไม่
พิจารณาแหล่งที่มาของสารสนเทศ
พิจารณาผู้แต่ง
มีผลงานเขียนที่เกี่ยวข้องกันในที่อื่น ๆ อีกหรือไม่
มีคุณวุฒิและประสบการณ์ในเรื่องที่เขียนหรือไม่
มีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับหรือไม่
พิจารณาสำนักพิมพ์หรือแหล่งผลิต
เป็นโรงพิมพ์ของมหาวิทยาลัยหรือไม่
ผู้จัดพิมพ์เป็นองค์กรหรือสมาคมมืออาชีพที่มีประสบการณ์หรือไม่
จัดพิมพ์จำนวนมากหรือน้อยเพียงใด
ผู้จัดพิมพ์เป็นที่รู้จักกันดีในสาขาวิชานั้นหรือไม่
พิจารณาขอบเขตเนื้อหา
เป็นสารสนเทศให้ความรู้ในระดับใด
ถ้าเป็นสารสนเทศจากอินเทอร์เน็ต ให้ดูว่ามีการเชื่อมโยงรายละเอียดกับเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องอื่น
พิจารณาให้ตรงกับความต้องการ
ต้องการสารสนเทศจากแหล่งใด หรือรูปแบบใด
ต้องการใช้สารสนเทศไปทำอะไร
พิจารณาจากช่วงเวลาที่เผยแพร่
สารสนเทศถูกจัดพิมพ์เผยแพร่เมื่อใด
สารสนเทศที่ไม่ได้ระบุช่วงเวลาที่จัดพิมพ์ ให้พิจารณาถึงแหล่งที่มาอย่างรอบคอบว่าควรจะนำมาอ้างอิงหรือไม่
เป็นสารสนเทศที่ทันสมัย จัดพิมพ์เผยแพร่ใกล้เคียงกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
การเลือกใช้สารสนเทศ
การวิเคราะห์สารสนเทศ
การสังเคราะห์สารสนเทศ
การประเมินสารสนเทศ
การวิเคราะห์สารสนเทศ
การอ่านเนื้อหาของทรัพยากรสารสนเทศ
ที่ผ่านการประเมินแล้วว่า สามารถนำมาใช้งานได้จริงๆ
ดึงเนื้อหาของสารสนเทศที่สอดคล้องกับประเด็น
แนวคิดต่างๆ ที่เราต้องการศึกษา
ทำการบันทึกเนื้อหาลงใน บัตรบันทึก
นำบัตรบันทึกมาจัดกลุ่มตามประเด็นแนวคิด เพื่อใช้ในการเรียบเรียงเนื้อหาของรายงานต่อไป
ขั้นตอนการวิเคราะห์สารสนเทศ
อ่านจับใจความสำคัญของเรื่อง
พิจารณาเนื้อหาสารสนเทศที่สอดคล้องกับประเด็นแนวคคิดต่างๆ
บันทึกสารสนเทศที่สอดคล้องกับเรื่องที่ต้องการ เช่น คำสำคัญ หรือ แนวคิด
จัดกลุ่มเนื้อหา
การสังเคราะห์สารสนเทศ
การจัดสารสนเทศโดยทั่วไป
จัดกลุ่ม (ประเด็นใหญ่ / ประเด็นย่อย)
เรียงตามลำดับอักษร
ตามลำดับเวลา (เช่น เหตุการณ์)
ตั้งแต่ต้นจนจบ (เช่น story)
ใช้หลายๆ วิธีข้างต้นผสมผสานกัน
กระบวนการของการสังเคราะห์สารสนเทศ
จัดกลุ่มสารสนเทศที่มีแนวคิดเดียวกัน ไว้ด้วยกัน
นำสารสนเทศที่มีแนวคิดเดียวกันมาจัดกลุ่มอีกครั้งเพื่อสร้างความสัมพันธ์ตามลำดับชั้น
นำแนวคิดต่างๆ ที่เราได้สร้างความสัมพันธ์ในแต่ละกลุ่มของแนวคิด มารวบรวมเป็นโครงสร้างใหม่ในรูปของโครงร่าง
ประเมินโครงร่างที่ได้ครอบคลุมครบถ้วนหรือไม่ กรณีไม่
ครบถ้วน ต้องกลับไปเริ่มที่กระบวนการแสวงหาคำตอบใหม่
การเขียนแผนผังความคิด หรือแผนที่ความคิด
การถ่ายทอดความคิด หรือข้อมูลต่าง ที่มีอยู่ในสมองลง กระดาษ โดยการใช้ภาพ สี เส้น และการโยงใยแทนการจดย่อแบบเดิมที่เป็น บรรทัด ๆ เรียงจากบนลงล่าง ทำให้สามารถเห็นภาพรวม และเปิดโอกาสให้
สมองให้เชื่อมโยงต่อข้อมูลหรือความคิดต่าง ๆ เข้าหากันได้ง่ายกว่า
ใช้แสดงการเชื่อมโยงข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งระหว่างความคิดหลัก ความคิดรอง และความคิดย่อยที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ลักษณะการเขียนผังความคิด เทคนิคการคิดคือการเอาประเด็นใหญ่ๆมาเป็นหัวข้อหลัก แล้วต่อด้วยประเด็นรองในชั้นถัดไป
ลักษณะของสารสนเทศที่ดี
สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้
เข้าถึงได้ง่าย
ต้องมีความสมบูรณ์
ตรวจสอบได้
มีความน่าเชื่อถือ
ทันต่อความต้องการใช้
ต้องมีความความถูกต้อง
มีความทันสมัย เป็นปัจจุบัน
การประเมินสารสนเทศ
ความหมายของการประเมินสารสนเทศ
การตรวจสอบว่าเนื้อหาของสารสนเทศที่ได้มานั้น สามารถตอบคำถามที่ตั้งไว้ได้อย่างละเอียดครอบคลุมทุกประเด็นและมีคำอธิบายเหตุเป็นผลและเอกสารอ้างอิงที่มีความน่าเชื่อถือเพียงใด
ความสำคัญของการประเมินสารสนเทศ
เป็นขั้นตอนการประเมินเพื่อคัดเลือกสารสนเทศ
หลักการประเมินสารสนเทศ
พิจารณาว่าเป็นสารสนเทศที่มีความน่าเชื่อถือหรือไม่
พิจารณาว่าเป็นเรื่องที่ตรงกับความต้องการอย่างแท้จริงหรือไม่
พิจารณาว่าเนื้อหาของสารสนเทศอยู่ในระดับใด